1 / 19

ความสำคัญ และทิศทางการพัฒนาระบบข้อมูล RIHIS ระดับจังหวัด

ความสำคัญ และทิศทางการพัฒนาระบบข้อมูล RIHIS ระดับจังหวัด. นายแพทย์ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ รักษาการ นายแพทย์ ระดับทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค. 30 มิย. 2557 โรงแรมริชมอนด์. แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ 2557-59.

joanne
Download Presentation

ความสำคัญ และทิศทางการพัฒนาระบบข้อมูล RIHIS ระดับจังหวัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความสำคัญ และทิศทางการพัฒนาระบบข้อมูล RIHIS ระดับจังหวัด นายแพทย์ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ รักษาการ นายแพทย์ระดับทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค 30 มิย. 2557 โรงแรมริชมอนด์

  2. แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ 2557-59 Zero New HIV Infection ไม่ติด Zero AIDS-related Deaths ไม่ตาย Zero Discrimination ไม่ตีตรา ประชากรเป้าหมายได้รับบริการป้องกันและมีพฤติกรรมปลอดภัย ประชาชนทราบสถานะการติดเชื้อและผู้ติดเชื้อได้รับการรักษารวดเร็วมีคุณภาพและต่อเนื่องตลอดชีวิต • นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง • เร่งรัดขยายการป้องกันให้ครอบคลุมพื้นที่ และประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและคาดว่าจะมีจำนวนการติดเชื้อฯใหม่มากที่สุด • ขยายการปกป้องทางสังคมและปรับเปลี่ยนสภาวะแวดล้อมทางกฎหมายที่มีความสำคัญต่อการป้องกันและการรักษา • เพิ่มความร่วมรับผิดชอบและเป็นเจ้าของร่วมในระดับประเทศ จังหวัด และท้องถิ่น • พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ การผสมผสานบูรณาการให้มีคุณภาพและยั่งยืน ป้องกันการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด ป้องกันการติดเชื้อฯ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยแบบบูรณาการ บริการโลหิตปลอดภัย ดูแลรักษาและการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ติดเชื้อฯ ดูแลเด็กและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ การลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ การสื่อสารสาธารณะ มุ่งเน้นเป้าหมาย เคารพสิทธิและละเอียดอ่อนเรื่องเพศ เอดส์ไม่ใช่เพียงโรคและความเจ็บป่วย เสริมพลังอำนาจ ภาวะผู้นำและเป็นเจ้าของ ภาคีเครือข่ายการทำงาน

  3. แผนที่ยุทธศาสตร์ด้าน HIV/STI ของกรมควบคุมโรค ไม่มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีใหม่ ไม่มีการตายเนื่องจากเอชไอวี และไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ Impacts ประชากรเป้าหมายมีพฤติกรรมปลอดภัยและรับบริการป้องกันผสมผสานเพิ่มข้น (% ประชากรเป้าหมายใช้ถุงยางอนามัยในเพศสัมพันธ์ล่าสุด % ประชากรเป้าหมายได้รับบริการป้องกัน) ประชาชนทราบสถานะการติดเชื้อและผู้ติดเชื้อได้ยา ART เร็วและต่อเนื่อง (จำนวนและ% ผู้ติดเชื้อที่ได้ยา ART เพิ่มขึ้น) Outcomes 4. พัฒนาและผลักดันนโยบายกฎหมาย และสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการดำเนินงาน 3. ส่งเสริมการใช้ และพัฒนาการบริหารจัดการถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น 5. พัฒนาระบบข้อมูลยุทธศาสตร์ การติดตามและประเมินผล และการใช้ประโยชน์ข้อมูล สร้างความต้องการการใช้บริการและการลดการตีตรารังเกียจในกลุ่มเป้าหมายหลัก และประชากรทั่วไป 2. พัฒนาบริการและคุณภาพของ การป้องกัน การปรึกษา การตรวจการติดเขื้อเอชไอวี การคัดกรองและรักษา STI และการดูแลรักษาเอชไอวีต่อเนื่อง มาตรการ

  4. ภาพจำลองแนวโน้มการติดเชื้อใหม่รายปี ในสถานการณ์ปัจจุบัน เปรียบเทียบกับดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ และแผนยุทธศาสต์เอดส์ชาติที่ผนวกกลวิธียุติปัญหาเอดส์ ป้องกันและแก้ไขปัญหาแบบเดิม มุ่งเน้นประชากรหลักและพื้นที่เป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ ส่งเสริมการรู้สถานะ HIV และการรักษาเนิ่นๆที่เน้นให้ครอบคลุมประชากรหลักร้อยละ 90

  5. จุดเน้นการปรับเปลี่ยนเพื่อยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทยจุดเน้นการปรับเปลี่ยนเพื่อยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย

  6. วัตถุประสงค์แผนงานยุติปัญหาเอดส์ 1. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนวัยเจริญพันธุ์ทุกคนรู้สถานะการติดเชื้อเอชไอวีโดยมุ่งเน้นความครอบคลุมการเข้าถึงบริการผสมผสานในกลุ่มประชากรสำคัญหลักให้ได้ร้อยละ 90 ( ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย สาวประเภทสอง พนักงานบริการหญิงชาย ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด ผู้ต้องขัง คู่ของประชากรหลักและคู่ของผู้มีผลเลือดบวก) 2. เพื่อให้บริการการรักษาด้วยยาต้านไวรัสแก่ผู้ติดเชื้อฯทุกรายที่มีความพร้อมเร็วขึ้น โดยไม่ต้องรอให้ระดับ CD4 ต่ำถึง 350 3. เพื่อสนับสนุนให้ผู้ติดเชื้อที่รับยาได้อยู่ในระบบต่อเนื่องและกินยาสม่ำเสมอ 4. เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพและชุมชนให้รองรับการบูรณาการการป้องกันดูแลรักษาต่อเนื่องตลอดชีวิต 5. เพื่อปรับภาพลักษณ์และเจตคติต่อเอชไอวีใหม่

  7. 3 จุดเน้นประชากร พื้นที่เป้าหมาย และชุดบริการ 90% ของผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ 38,883 คน อยู่ในกลุ่มประชากรหลัก และคู่ผลต่าง 66% ของผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ อยู่ใน 33 จังหวัด

  8. ข้อเสนอ เป้าหมายการดำเนินงานเพื่อยุติปัญหาเอดส์ ปี 2559

  9. ยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทยยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย ไม่มีเด็กเกิดใหม่ติดเชื้อเอชไอวี มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ไม่เกิน 1000 ราย ทุกคนเข้าถึงการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ไม่มีการเลือกปฏิบัติ พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการสุขภาพและระบบชุมชน ลดการตีตราเลือกปฏิบัติและส่งเสริมกลไกการคุ้มครองสิทธิ พัฒนาข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และการติดตามประเมินผล การสนับสนุนทางวิชาการและการบริหารจัดการ

  10. แหล่งงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานด้านเอดส์ ปี 2558

  11. คำของบประมาณกองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ (สปสช) ปีงบประมาณ 2558 • งบประมาณทั้งหมด 3,234,339,000 บาท • 1. หมวดบริการป้องกัน 225,000,000บาท • 2. หมวดบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์3009,339,000 บาท • 2.1 งบค่าบริการดูแลรักษา 2,925,489,900บาท • 2.2 งบพัฒนาระบบ 83,850,000บาท

  12. คำของบประมาณด้านเอดส์กรมควบคุมโรคปี 2558 รวม 186,984,200 บาท

  13. คำของบประมาณกรมควบคุมโรคเพิ่มเติมปี 2558 เพื่อยุติปัญหาเอดส์

  14. ข้อเสนอพื้นที่ดำเนินงาน GFATM NFM

  15. Know Response การป้องกันการติดเชื้อในกลุ่ม KAPs ระบบข้อมูล RIHIS –KAPs บันทึก และรายงาน จากหน่วยบริการ ข้อมูลจากงานในชุมชน ข้อมูลสถานพยาบาล • จำนวน FSW, MSM, PWID, ผู้ต้องขัง, MW • ที่ได้เข้าถึงบริการป้องกันฯ • จำนวน ถุงยางอนามัย สารหล่อลื่น • ที่แจกจ่ายให้ฟรี FSW, MSM, PWID, • ผู้ต้องขัง, MW , Youth • จำนวน เข็มและกระบอกฉีดยา ปลอดเชื้อ • ที่แจกให้ PWID, • จำนวน FSW, MSM, PWID, ผู้ต้องขัง, MW , • ตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี และรู้ผลการตรวจเลือด • จำนวน FSW, MSM, PWID, ผู้ต้องขัง, MW ที่ได้รับบริการตรวจคัดกรอง, ตรวจรักษา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • จำนวน IDU รับสารทดแทนตามมาตรฐานMMT • จำนวนสถานพยาล ที่ให้บริการSTI ,จำนวนจุดบริการแจกเข็มและกระบอกฉีดยา ,จำนวนสภานพยาบาลบริการ MM ระบบข้อมูล RIHIS-KAPsที่ระดับจังหวัด(on web)

  16. กรอบการดำเนินงานกลุ่ม KAPs:การให้บริการเชิงรุก&บริการในสถานพยาบาลฯ บริการในสถานพยาบาล บริการเชิงรุก กลุ่มเป้าหมาย MSM FSW PWIDMW BCC condom ปลอดภัย/ไม่เสี่ยง ศูนย์ดร็อปอิน เข้าถึงบริการ ส่งต่อ HCT บริการภาคสนาม ผู้ต้องขัง ให้ข้อมูล ความรู้ แจกจ่ายอุปกรณ์ป้องกัน การส่งต่อ STI ได้รับการ ดูแลรักษา ต่อเนื่องแต่เนิ่นๆ เยาวชน MMT พัฒนาแบบบันทึกและจัดทำรายงาน

  17. เป้าหมายการดำเนินงาน RIHIS ปี 2557-59 เป้าหมาย70% - 100%หน่วยบริการ (รัฐ- ภาคประชาสังคม) ของ59เป็น 77จังหวัด ส่งและใช้รายงาน ระบบข้อมูล RIHIS-KAPs & youth หรือ NAP + การพัฒนาโปรแกรม NAP+และระบบรายงาน online รองรับระบบข้อมูล RIHIS-KAPs (ร่วมกับ สปสช.) เน้น สถานพยา บาล ที่มี KAPs มารับบริการ มาก สรุปปัญหาอุปสรรค และวางแผน การดำเนินงานร่วมกับ ระดับพื้นที่ กระตุ้น เยี่ยมติดตาม 45 จังหวัด ให้ดำเนินการเร่งรัด ขยายผลความครอบคลุมการรายงานของหน่วยบริการ พัฒนาระบบการบันทึกข้อมูล outreach ให้ใช้ UIC ในระบบเดียวกัน (ร่วมกับTUC-SR-NGO) สคร ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล (RDQA) ร่วมกับระดับเขต มาตรการจุดเน้นกรมคร. “จังหวัดที่มีระบบข้อมูล &การติดตามฯ สมบูรณ์“ พัฒนาโปรแกรมการรายงาน RIHIS online - community - รวบรวมและรายงานข้อมูลจากหน่วยบริการเชิงรุก ทั้ง 4 กลุ่มประชากร อัตโนมัติ เชื่อมต่อโปรแกรม ระบบข้อมูล RIHIS –KAPs กับเครื่องมือการรวบรวมข้อมูล เชิงยุทธศาสตร์เอดส์ AIDSZeroPortal เพื่อใช้ประโยชน์จากข้อมูล พัฒนาระบบ ข้อมูล STI-ให้บูรณาการอยู่ในระบบปกติ (ร่วมกับ STI Cluster)

  18. ความท้าทายในการดำเนินงาน 1.พื้นที่/สถานพยาบาลที่มี กปม.มารับบริการมาก ยังไม่ได้เริ่มทำรายงานข้อมูลใน ระบบRIHIS - จ. ที่มีกลุ่มประชากรหลักจำนวนมาก ความครอบคลุมในการรายงานระบบ ข้อมูล RIHIS ยังมีน้อย - คลินิกพิเศษ เอกชน –งานวิจัย เช่น สภากาชาด สีลม 2. การดำเนินงานโปรแกรม STI minirecord และระบบข้อมูลRIHIS ยังไม่ บูรณาการงานกันได้อย่างแท้จริง - สถานพยาบาลจำนวนมาก ภายใต้โครงการ BATS-สปสช.ได้มีการบันทึกข้อมูลด้วย โปรแกรม STI minirecord ซึ่งโปรแกรมได้ถูกออกแบบให้สามารถรายงานข้อมูล มาสู่ ระบบข้อมูล RIHIS online ได้ แต่ไม่ได้มีการชี้แจงเพิ่มเติม ให้ทำรายงานในส่วนนี้ พื้นที่จึงไม่ได้รายงาน 3. ความซ้ำซ้อนในการบันทึกข้อมูล ที่เป็นภาระงานของสถานพยาบาล -VCT ในโปรแกรมNAP+ จำเป็นต้องทำเพื่อการเบิกจ่าย ที่ดำเนินการอยู่เดิม - STI ในโปรแกรมของพยาบาลที่ต้องบันทึก Hos-Xpอยู่เดิมแล้ว ต้องการบูรณาการให้เป็นโปรแกรมเดียวกันหรือเชื่อมกันได้

More Related