460 likes | 683 Views
สัมมนาเรื่อง “ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค ” (Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP). พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานหอการค้าและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ณ โรงแรม Swissotel Le Concorde 30 เมษายน 2556. ASEAN FTAs VS Dialogue Partners.
E N D
สัมมนาเรื่อง “ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค”(Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP) พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานหอการค้าและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ณ โรงแรม Swissotel Le Concorde 30 เมษายน 2556
ASEAN FTAsVS Dialogue Partners ตัวอย่าง: อัตราภาษีที่ญี่ปุ่นให้แก่คู่เจรจา FTA ในกรอบอาเซียนและทวิภาคี 2
RCEP? 3
RCEP ในอนาคต? Tariff Harmonization RoO NTMs/ NTBs Standard 4
ร่างคำถาม ข้อที่ 1 ท่านเห็นว่าการจัดทำความตกลง RCEP จะช่วยเสริมให้ AEC บรรลุเป้าหมายการเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม ได้มาก น้อยแค่ไหน ? 5
แนวคำตอบ ข้อที่ 1 • 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกันแปลง่ายๆ ว่าเหมือนเป็นหนึ่งประเทศเดียวกัน เป้าหมายของอาเซียนในวันนี้ยังเดินไปถึงอย่างสมบูรณ์ เช่น การค้าจะต้องไม่มีอุปสรรค ต้องมีความสะดวก (flow) ทางการค้ามากที่สุด มีอุปสรรคน้อยที่สุด • 2. เป้าหมายการเปิดเสรีของอาเซียนปี 2558 ยังไม่สามารถบรรลุได้ เช่น ยังมี NTBs มีโควต้าสินค้า มาตรฐานยังไม่ใช่มาตรฐานเดียวกัน หรือมีมาตรฐานที่ปฏิบัติได้ใกล้เคียงกัน การเคลื่อนย้ายแรงงานก็ยังไม่มีความคืบหน้า 6
แนวคำตอบ ข้อที่ 1(ต่อ) 3. เมื่อเป้าหมายของอาเซียนเองยังไม่สำเร็จในตัวเอง เมื่อบวกประเทศสมาชิกจาก 6 ประเทศการจะบรรลุเป้าหมายตลาดและฐานการผลิตร่วมโดยมี RCEP เป็นตัวกระตุ้นนั้นขึ้นอยู่กับว่า 3.1ข้อตกลงที่ไทยมีภายใต้อาเซียนกับประเทศต่างๆ ในกรอบอาเซียน + 1 จำนวน 5 กรอบความตกลงการค้าเสรี อันได้แก่ 1. อาเซียน-จีน 2. อาเซียน-ญี่ปุ่น 3. อาเซียน-เกาหลี 4. อาเซียน-อินเดีย 5. อาเซียน-ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ 3.2ข้อตกลงที่ไทยมีการเปิดเสรีการค้าระหว่างสองประเทศ อันได้แก่ JTEPA, ไทย-อินเดีย, ไทย-ออสเตรเลีย และไทย-นิวซีแลนด์ 6
แนวคำตอบ ข้อที่ 1 (ต่อ) 3.3 การรวมอาเซียนเป็นศูนย์กลางโดยมีอีก 6 ประเทศเข้ามาเชื่อมโยงอาเซียน จำเป็นต้องผนวกรวมข้อตกลงที่หลายหลากข้างต้นและทำให้กติกาทางการค้าเป็นกติกาเดียวกันให้ได้มากที่สุด (Harmonization) ภาษีเดียวกัน Rule of origin เดียวกัน มาตรฐานเดียวกันหรือใกล้คียงกันยกตัวอย่างการ กรณีผมผลิตอาหารสัตว์ที่ไทย หากสามารถนำเข้าวัตถุดิบจากทั่วโลกและผลิตเป็นอาหารสัตว์ และส่งออกไปได้ทั้งจีนหรือเกาหลีโดยไม่มีอุปสรรคทางการค้า ต้นทุนการค้าก็จะต่ำ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลทางการค้า สรุป หาก RCEP สามารถเชื่อมโยง 16 ประเทศตามที่ว่าแล้ว ก็ยอมมีส่วนกระตุ้น AEC ให้บรรลุเป้าหมายการเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมได้ อย่างไรก็ตามการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายทั้ง RCEP หรือ AEC ควรดำเนินไปพร้อมๆ กัน 7
ร่างคำถาม ข้อที่ 2-3 2.ท่านเห็นว่า อาเซียนจะเพิ่มมูลค่า (value added) ให้กับความตก ลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership หรือ RCEP) ได้มากขึ้นกว่าการที่อาเซียน มีความตกลง ASEAN + 1 FTAs ได้อย่างไร ? ตรงจุดไหน ? 3.ท่านพบปัญหาอะไรหรือไม่? ในการใช้สิทธิประโยชน์ในความตก ลงแต่ละฉบับที่อาเซียนเป็นภาคีกับประเทศอื่นๆ อีก 6 ประเทศ (เช่น ปัญหาการได้ถิ่นกำเนิดสินค้า) และอยากเห็นอะไรในความ ตกลง RCEP ที่อาจช่วยแก้ไขปัญหาของท่านได้? 8
(ตัวอย่าง) อัตราภาษี โทรทัศน์สีพิกัด 8528.72 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1(ของไทยและคู่เจรจา)
(ตัวอย่าง) เกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้าโทรทัศน์สีพิกัด 8528.72 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1
(ตัวอย่าง) อัตราภาษี อาหารสุนัขและอาหารแมวพิกัด 2309.10 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1
(ตัวอย่าง) เกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้าอาหารสุนัขและอาหารแมวพิกัด 2309.10 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1
(ตัวอย่าง) อัตราภาษี ทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋องพิกัด 1604.14 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1
(ตัวอย่าง) เกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้าทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋องพิกัด 1604.14 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1
มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าอาหารสุนัขและอาหารแมว พิกัด 2309.10 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ
มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด 1604.14 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ
มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด 1604.14 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 (ต่อ) ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ
มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด 1604.14 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 (ต่อ) ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ
มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด 1604.14 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ
มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด 1604.14 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ
มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าโทรทัศน์สีพิกัด 8528.72 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ
มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าโทรทัศน์สีพิกัด 8528.72 ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ
มาตรฐานและการรับรองกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมมาตรฐานและการรับรองกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม 25
มาตรฐานและการรับรองกลุ่มสินค้าอาหารแปรรูปมาตรฐานและการรับรองกลุ่มสินค้าอาหารแปรรูป 26
การอำนวยความสะดวกทางการค้าร่วมกันการอำนวยความสะดวกทางการค้าร่วมกัน 1. การ Harmonization พิกัดศุลกากร 2.การปรับประสานพิธีการทางศุลกากร ให้เป็นระบบบสากล 3. การใช้เชื่อมโยงข้อมูลการส่งออกหรือการนำเข้าระหว่างประเทศด้วยระบบอิเล็คทรอนิกส์ 4. การเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์ภายใน RCEP
ร่างคำถาม ข้อที่ 4.1 4.1 ท่านคิดว่า การเจรจา RCEP จะช่วยให้สาขาเกษตรหรือ อุตสาหกรรมเกษตรของไทยมีอัตราการส่งออกเพิ่มขึ้นหรือ ไม่ ? Sector ใดเป็น sector สำคัญที่ไทยน่าจะมีโอกาสมาก? ประเทศใดถือเป็นประเทศเป้าหมายของไทย ที่ยังไม่ลดหรือ ยกเลิกภาษีศุลกากรให้แก่ไทยภายใต้ความตกลง ASEAN + 1 FTAs และประเทศที่ไทยยังไม่มีความตกลงทวิภาคีด้วย? รวมทั้ง หากประเทศคู่เจรจาเคยมีความตกลงทวิภาคีหรือเป็น ASEAN Dialogue partners ของไทยแล้ว มีสินค้าใดที่ท่าน คาดหวังว่า จะมีการลดภาษีเพิ่มเติมให้แก่ไทย?
สินค้าที่ไทยมีศักยภาพ แต่ยังเปิดตลาดได้ไม่เต็มที่ใน FTAอาเซียนกับคู่เจรจา Bi-lateral ,ASEAN+1
สินค้าที่ไทยมีศักยภาพ แต่ยังเปิดตลาดได้ไม่เต็มที่ใน FTAอาเซียนกับคู่เจรจา Bi-lateral ,ASEAN+1
ร่างคำถาม ข้อที่ 4.2 4.2 ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร หากการเจรจาภายใต้ กรอบ RCEP จะมีการใช้หลักการสะสมถิ่นกำเนิดแบบ full cumulation? จะส่งผลกระทบ (ทั้งในเชิงบวก และลบ) อย่างไรกับอุตสาหกรรมของท่าน? และจะ ส่งผลโครงสร้างการผลิตและการค้าในไทยอย่างไร? และผลกระทบที่จะเกิดต่อผู้ผลิตรายย่อยในประเทศใน สาขาของท่านอย่างไร?
ประโยชน์ของการใช้หลักการสะสมถิ่นกำเนิดแบบ full cumulation ภายใต้ RCEP หลักการ full cumulation คือการใช้วัตถุดิบที่ผลิตจากประเทศภาคีไปผลิตสินค้าต่อในอีกประเทศภาคี และให้สามารถสะสมถิ่นกำหนดสินค้าได้ แม้ว่าประเทศที่ผลิตวัตถุดิบอาจนำเข้าวัตถุดิบจากนอกภาคีและไม่ได้ถิ่นกำเนิดสินค้า แต่เกิดมูลค่าเพิ่มในการผลิตวัตถุดิบไม่ว่าจะเป็นต้นทุนแรงงาน ค่าน้ำ ค่าไฟ ฯลฯ เพียงแค่เล็กน้อยก็สามารถใช้สะสมเป็นถิ่นกำเนิดสินค้าในประเทศภาคีที่นำไปผลิตต่อได้
ประโยชน์ของการใช้หลักการสะสมถิ่นกำเนิดแบบ full cumulation ภายใต้ RCEP วิเคราะห์วัตถุดิบภายในสมาชิกภาคี RCEP ทั้ง 16 ประเทศ ว่ามีปริมาณเพียงพอ? คุณภาพได้มาตรฐาน? และที่สำคัญต้นทุนต่ำ? สำหรับประเทศไทยในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมเกษตรและ อาหารที่มีการใช้วัตถุดิบนอกประเทศเป็นหลักเช่นปลาทะเล น้ำลึก ถั่วเหลือง ข้าวสาลี ข้าวบาร์เล่ย์ ซึ่งจะได้ประโยชน์ หากใช้การสะสมแบบ full cumulation จะทำให้สินค้าสำเร็จ รูปที่ผลิตจากการใช้วัตถุดิบนอกภาคีสามารถนำมูลค่าเพิ่มจากกระบวนการผลิตมาสะสมถิ่นกำเนิดสินค้าได้
ประโยชน์ของการใช้หลักการสะสมถิ่นกำเนิดแบบ full cumulation ภายใต้ RCEP กลุ่มวัตถุดิบเกษตร ปศุสัตว์ ประมง ฯลฯ ภายในไทยหรือประเทศภาคึ RCEP อาจได้รับผลกระทบโดยการนำเข้าวัตถุดิบจากประเทศนอกภาคีทั้งนี้ในแง่มุมด้านการตลาดขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านความต้องการว่ามีผลผลิตเพียงพอหรือไม่ได้มาตรฐานที่ต้องการหรือไม่รวมถึงต้นทุนที่ต่ำซึ่งกลุ่มอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารเน้นมาตรฐานด้านความปลอดภัยอาหารตั้งแต่วัตถุดิบหากประเทศไทยไม่พัฒนาด้านว้ตถุดิบที่จะทำให้อาหารปลอดภัยก็จะส่งผลกระทบในอนาคต สรุป ในหลักการ Full cumulationน่าจะเป็นประโยชน์ แต่อาจมีสินค้าวัตถุดิบ/กึ่งวัตถุดิบที่ ไม่สามารถปรับตัวด้านการผลิต คุณภาพมาตรฐานและราคา อาจได้รับผลกระทบ ดังนั้นจึงควรศึกษาลงเป็นรายสินค้าเพื่อการใช้ประโยชน์ Full cumulationให้ดีที่สุด
ประโยชน์จากการแสวงหาวัตถุดิบของสินค้าสำเร็จรูปประโยชน์จากการแสวงหาวัตถุดิบของสินค้าสำเร็จรูป ภายใต้ RCEP Input Raw Material from RCEP Members Processing Products in Thailand Export to RCEP Members สมมุติเกณฑ์ ROO บิสกิตโกโก้ คือ RVC 40% RCEPMembers In Force 1. ASEAN – China 2. ASEAN – Korea 3. ASEAN – Japan 4. ASEAN – India 5. ASEAN – Australia 6. ASEAN – New Zealand New Initiatives 1. ASEAN - GCC การคำนวนเกณฑ์ RVC 40% มูลค่าการผลิตในไทย = 2 มูลค่าการผลิตในเวียดนาม = +1 มูลค่าการผลิตในอินโดฯ = +1 รวม = USD 4 ต้นทุนข้าวแป้งสาลี (ราคาต่อหน่วย : USD) นำเข้าข้าวสาลีจากสหรัฐ = 1 มูลค่าการผลิตในเวียดนาม = + 1 รวม = 2 การคำนวน RVC 40% ทางตรง 2+1+1 10 (ราคาขายที่ FOB)x 100% = 40% ได้เกณฑ์ ROO RCEP ต้นทุนผงโกโก้ (ราคาต่อหน่วย : USD) นำเข้าเมล็ดโกโก้จากไนจีเรีย = 1 มูลค่าการผลิตในอินโดเนียเซีย =+1 รวม = 2
ผลกระทบต่อวัตถุดิบพื้นฐานหรือวัตถุดิบกึ่งสำเร็จรูปที่ผลิตในประเทศไทยภายใต้ RCEP • วัตถุดิบด้านเกษตร ประมง หรือวัตถุดิบกึ่งสำเร็จรูปของประเทศไทยอาจได้รับผลกระทบจากการนำเข้าวัตถุจากประเทศสมาชิก RCEP ที่มีราคาถูก คุณภาพต่ำกว่า หรือมีราคาถูกและคุณภาพดี • 2. วัตถุดิบนอกภาคี RCEP อาจจะปลอมแปลงได้ง่ายหากมาตรฐานการ • ตรวจสอบกฎถิ่นกำเนิดสินค้ามีความยากง่ายต่างกันระหว่างประเทศ • สมาชิก RCEP ข้อเสนอแนะ • ผู้ผลิตสินค้าพื้นฐานหรือกึ่งสำเร็จรูปต้องเร่งปรับตัวผลิตสินค้าราคาถูกและมีคุณภาพมาตรฐานสากล • ต้องเร่งสร้างมาตรฐานบังคับในสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเพื่อเร่งพัฒนาความสามารถในการแข่งขันและเป็นมาตรการปกป้องสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานที่จะนำเข้ามาในประเทศไทย
ร่างคำถาม ข้อที่ 4.3 4.3 ท่านคิดว่าจะมีความเป็นไปได้หรือไม่ที่หลักการ full cumulation จะเป็นตัวกระตุ้นให้อุตสาหกรรมในไทย (ซึ่งเป็นถือหุ้นโดยนักลงทุน ต่างชาติและนักลงทุนไทย) เกิดการเคลื่อนย้ายการลงทุนไปยังประเทศ อาเซียนใหม่? เช่น เมียนมาร์ ลาว กัมพูชา และเวียดนาม โดยเฉพาะ กลุ่มอุตสาหกรรมที่ไม่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงและแรงงานที่มีทักษะมากนัก และหลังจากนั้นเมื่อแรงงานในประเทศนั้นมีทักษะมากขึ้นจะส่งผลให้ กลุ่มอุตสาหกรรมต่อเนื่องย้ายฐานการผลิตตามไปด้วยในอนาคต ใน ประเด็นนี้ นักลงทุนไทยหรือผู้ประกอบการไทยจะมีศักยภาพเพียงพอ ที่จะออกไปลงทุนในประเทศภาคี 15 ประเทศมากน้อยแค่ไหน? ตอบ เห็นว่าไม่มีผลต่อการที่นักลงทุนจะเคลื่อนย้ายการลงทุนไปประเทศอื่น เนื่องจากมีปัจจัยอื่นๆ เช่น ค่าแรงและทักษะของแรงงานในท้องถิ่นมากกว่า จึงเห็นว่าหลักการ Full cumulation ไม่น่าจะเป็นตัวกระตุ้นให้มีการเคลื่อนย้ายนักลงทุนออกไปอาเซียนใหม่
ร่างคำถาม ข้อที่ 4.4 4.4 ท่านเห็นว่ามาตรการที่มิใช่ภาษีของประเทศใดที่ยังเป็นอุปสรรค ต่อการค้า ในการเจรจาในกรอบ RCEP? และมาตรการที่มิใช่ภาษีใน มาตรการใดที่ควรหยิบยกมาเจรจาเพื่อลดอุปสรรคทางการค้าที่จะ เกิดขึ้น เพื่อให้ RCEP มี value added มากขึ้น? ตอบ 1. มาตรการที่มีผลกระทบมากที่สุด คือมาตรการห้ามนำเข้า เช่น อินโดเนียเซียเคยกำหนดท่าเรือที่จะให้นำเข้าได้ ทำให้เป็นอุปสรรคทางการค้า สินค้าเหมือนถูกห้ามนำเข้าทันที 2. RCEP ควรจัดตั้งคณะทำงานด้าน NTBs เพื่อร่วมแก้ปัญหา อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงการตั้งเป้าหมายในการลด/ยกเลิก NTBs
ร่างคำถาม ข้อที่ 4.5 4.5 ในสาขาเกษตรหรืออุตสาหกรรมเกษตร และสาขายานยนต์/ ชิ้นส่วนยานยนต์ของไทย ภาคการผลิตดังกล่าวควรจะมี มาตรการปรับตัวหรือเตรียมความพร้อมอย่างไรจากผลของ ความตกลง RCEP? หรือมีข้อเสนอแนะแก่ภาครัฐให้ช่วยเหลือ ภาคเอกชนเตรียมพร้อมรองรับปรับตัวอย่างไร? ตอบ 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากร 2. ฝึกฝนทักษะด้านภาษาในอาเซียน/คู่เจรจา 3. นำเทคโนโลยีใหม่/ผลการศึกษาวิจัยมาปรับปรุงใช้ 4. พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในการผลิตสินค้า/ให้บริการ 5. พัฒนาการบริการ ให้ได้มาตรฐานสากล 6. ให้บริการอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม