380 likes | 811 Views
สรุปผลการดำเนินงาน MRA ปีงบประมาณ 25 5 5 จ.ปทุมธานี. วัน พฤหัสบดี ที่ 21 มีนาคม 2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี. กิจกรรมการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕. ๑.การพัฒนาศักยภาพวิทยากรระดับเขต (ครู ก.) ให้เป็นวิทยากรและเป็นที่ปรึกษาให้แก่ผู้ตรวจสอบ สปสช. เขต (๑ ครั้ง)
E N D
สรุปผลการดำเนินงานMRA ปีงบประมาณ 2555 จ.ปทุมธานี วันพฤหัสบดีที่ 21 มีนาคม 2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี
กิจกรรมการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕ ๑.การพัฒนาศักยภาพวิทยากรระดับเขต (ครู ก.) ให้เป็นวิทยากรและเป็นที่ปรึกษาให้แก่ผู้ตรวจสอบ สปสช.เขต (๑ครั้ง) ๒. ตรวจสอบคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน โดยคณะทางานตรวจประเมินระดับเขต (External Audit) และสนับสนุนให้หน่วยบริการดำเนินการตรวจสอบคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน (Internal Audit)
จำนวนเวชระเบียนเป้าหมาย เปรียบเทียบกับ จำนวนเวชระเบียนที่ตรวจสอบ
ผลการดำเนินงาน MRAIPD ปีงบประมาณ ๒๕๕๕
ร้อยละของคะแนนผลการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยใน (internal-External) ปี 2554 79.30 79.49
ร้อยละของคะแนนผลการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยใน (Internal-External) ปี2555 83.84 76.74
ร้อยละของคะแนนผลการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยใน (Internal) ปี2554-2555
ร้อยละของคะแนนผลการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยใน (External) ปี 2554-2555
ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยใน แยกตามราย Content ภาพรวมจังหวัด ปีงบ 2555 คะแนนเต็ม Content ละ 9 คะแนน
ค่าเฉลี่ยเกณฑ์ history รายหน่วย เทียบกับค่าเฉลี่ยประเทศ 6.18
ค่าเฉลี่ยเกณฑ์ physical exam รายหน่วย เทียบกับค่าเฉลี่ยประเทศ 7.32
ค่าเฉลี่ยเกณฑ์ progress note รายหน่วย เทียบกับค่าเฉลี่ยประเทศ 5.69
ค่าเฉลี่ยเกณฑ์ nurses’ note รายหน่วย เทียบกับค่าเฉลี่ยประเทศ 7.28
ผลการดำเนินงาน MRAOPD ปีงบประมาณ ๒๕๕๕
ร้อยละของคะแนนประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน OP(External) ปีงบ 2555 64.94
ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก แยกตามราย Content ภาพรวมของประเทศ ปีงบประมาณ 2555
ปัญหาอุปสรรค • การพัฒนา Website ยังไม่สมบูรณ์ ล่าช้า • ความครบถ้วน ถูกต้องของการ Audit • บางข้อไม่ควรให้คะแนน NA แต่มีการให้คะแนน • การนับ visit ใน OPD ไม่ตรงกัน • เวชระเบียนบางฉบับไม่สมบูรณ์เนื่องจาก น้ำท่วมเสียหาย • ระหว่างทีมยังมีการแลกเปลี่ยนกันน้อย
แนวทางการดำเนินงาน MRA ปีงบประมาณ 56 และการใช้งานโปรแกรม MRA วันพุธที่ 16 มกราคม 2556 เวลา 9.00-12.00 น.ณ ห้องประชุม 203 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
1. แนวทางการดำเนินงาน MRA ปีงบประมาณ 56 (เพิ่มเติม) • เป้าหมายเวชระเบียน/งบประมาณ • รูปแบบการดำเนินงาน • สิ่งส่งมอบ • 2. การใช้งานโปรแกรม MRA เพื่อการดำเนินงานปี 2556 เนื้อหาในการประชุม
แนวทางการดำเนินงาน MRA ปีงบประมาณ 56
เป้าหมายเวชระเบียนที่ตรวจสอบ ปี2556
รูปแบบการดำเนินงาน External Audit • สสจ. เสนอโครงการ แจ้งรายชื่อหน่วยบริการมายัง สปสช.เขต • สปสช.เขต จัดสรรงบประมาณในการดำเนินงาน โดยทำสัญญา/ข้อตกลงร่วมกัน • สสจ.ดำเนินการให้มีการตรวจประเมินเวชระเบียน External Audit • (โดยคณะทำงานตรวจประเมินฯระดับเขต/จังหวัดที่ได้รับการแต่งตั้ง และต้องไม่ตรวจหน่วยบริการตนเอง) • สสจ.บันทึกผลในโปรแกรม NHSO MRA แล้วเสร็จ (15 มิย.56) ส่ง • และส่งสรุปผลการดำเนินงานพร้อม External Audit มายัง สปสช.เขต
รูปแบบการดำเนินงาน Internal Audit • หน่วยบริการ ดำเนินการ Internal Audit (หลังทำ External Audit) • หน่วยบริการ บันทึกผลในโปรแกรม NHSO MRA แล้วเสร็จ • (15 มิย.56) • สสจ.ส่งสรุปผลการดำเนินงานพร้อม External Audit • มายัง สปสช.เขต
ประสานงานกับ สสจ. และหน่วยบริการ เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน • รวบรวมโครงการจาก สสจ. • ทำสัญญา/ข้อตกลงร่วมกับ สสจ. ในการดำเนินโครงการ และกำหนดสิ่งส่งมอบตามกำหนด • จัดสรรงบประมาณตามจำนวนเวชระเบียนเป้าหมาย • เป็นที่ปรึกษาให้แก่ สสจ.และหน่วยบริการ ในการดำเนินงานตรวจสอบเวชระเบียน และการบันทึกผลการตรวจสอบ • ติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการของสสจ. เป็นระยะ • สรุปผลงานในภาพรวมของเขต พร้อม Fact sheet ส่งมายัง สำนัก ตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ ภายในวันที่30 กันยายน 2556 บทบาทของ สปสช.เขต
ดำเนินการสุ่มเวชระเบียน ตามเงื่อนไขที่กำหนด • เป็นที่ปรึกษาแก่ สปสช.เขต ในการดำเนินงาน • ร่วมกับสำนักกำกับคุณภาพและประเมินผลลัพธ์สุขภาพ สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ นำเสนอผู้บริหาร ให้รับทราบสถานการณ์และแนวโน้มของการบันทึกเวชระเบียนของหน่วยบริการ และนำข้อมูลมาพัฒนาระบบการบันทึกเวชระเบียนของหน่วยบริการ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น บทบาทของ สปสช. ส่วนกลาง
โครงการดำเนินงานการตรวจสอบเวชระเบียน ระบุจำนวนเวชระเบียนเป้าหมายของแต่ละหน่วยบริการภายในจังหวัด และงบประมาณที่ใช้ในการดำเนินการ • สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ภายในเวลาที่ สปสช.เขตกำหนด สิ่งส่งมอบจากสสจ. ไปยังสปสช.เขต
บทบาทของ Auditors • เป็นผู้ตรวจสอบของจังหวัด(ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ของหน่วยบริการ) • ตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนของหน่วยบริการและให้คะแนนคุณภาพอย่างตรงไปตรงมาตามเกณฑ์ที่กำหนด • บันทึกข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ จุดอ่อน/จุดแข็งต่อหน่วยบริการเพื่อนำไปปรับปรุงการบันทึกเวชระเบียน
*การบันทึกข้อมูลลงในเวชระเบียนจึงต้องทำอย่างดีที่สุด ในผู้ป่วยทุกราย มิใช่ทำเพื่อรองรับการตรวจสอบเท่านั้น แต่ทำเพื่อให้ได้บริการที่ดีที่สุดแก่ผู้รับบริการและต้องยินยอมให้มีการตรวจสอบตามกระบวนการต่างๆด้วยความเต็มใจ พร้อมรับการวิจารณ์และนำมาแก้ไขโดยไม่โกรธเคืองผู้ที่ทำการทบทวน*
Thank you for your attention