310 likes | 432 Views
จากความเสียหายสู่แนวทางการบริหารจัดการที่มีประสิทธิผล. ดร. จรัสโรจน์ บถดำริห์ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ ด้านสังคม สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. จากความเสียหาย . . . ลำดับเส้นทางมหาอุทกภัย 2554. บริเวณพื้นที่น้ำท่วมวันที่ 1 สิงหาคม 2554.
E N D
จากความเสียหายสู่แนวทางการบริหารจัดการที่มีประสิทธิผลจากความเสียหายสู่แนวทางการบริหารจัดการที่มีประสิทธิผล ดร. จรัสโรจน์ บถดำริห์ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ ด้านสังคม สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
บริเวณพื้นที่น้ำท่วมวันที่ 1 สิงหาคม 2554 รวม 4,085 ตารางกิโลเมตร สนับสนุนข้อมูลโดย บริษัท Lotus Consulting International.Co.Ltd.
บริเวณพื้นที่น้ำท่วมวันที่ 15 สิงหาคม 2554 รวม 4,880 ตารางกิโลเมตร สนับสนุนข้อมูลโดย บริษัท Lotus Consulting International.Co.Ltd.
บริเวณพื้นที่น้ำท่วมเมื่อ วันที่ 28 สิงหาคม - 11 กันยายน 2554 รวม 8,140 ตารางกิโลเมตร สนับสนุนข้อมูลโดย บริษัท Lotus Consulting International.Co.Ltd.
บริเวณพื้นที่น้ำท่วมเมื่อ วันที่ 4 - 18 กันยายน 2554 รวม 13,980 ตารางกิโลเมตร สนับสนุนข้อมูลโดย บริษัท Lotus Consulting International.Co.Ltd.
บริเวณพื้นที่น้ำท่วมเมื่อ วันที่ 18 กันยายน - 2 ตุลาคม 2554 รวม 13,370 ตารางกิโลเมตร สนับสนุนข้อมูลโดย บริษัท Lotus Consulting International.Co.Ltd.
บริเวณพื้นที่น้ำท่วมเมื่อ วันที่ 15 ตุลาคม 2554 รวม 13,980 ตารางกิโลเมตร สนับสนุนข้อมูลโดย บริษัท Lotus Consulting International.Co.Ltd.
บริเวณพื้นที่น้ำท่วมเมื่อ วันที่ 16 - 30 ตุลาคม 2554 รวม 18,110 ตารางกิโลเมตร สนับสนุนข้อมูลโดย บริษัท Lotus Consulting International.Co.Ltd.
บริเวณพื้นที่น้ำท่วมเมื่อ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2554 รวม 19,060 ตารางกิโลเมตร สนับสนุนข้อมูลโดย บริษัท Lotus Consulting International.Co.Ltd.
ภาพรวมสถานการณ์น้ำท่วมตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม – 15 พฤศจิกายน 2554 สนับสนุนข้อมูลโดย บริษัท Lotus Consulting International.Co.Ltd.
ภาพตัดขวางลุ่มน้ำเจ้าพระยา ระยะทาง 154 กิโลเมตร ผู้จัดทำ: พอ. (พิเศษ) กฤต บัณฑิต ผู้อำนวยการกองภูมิศาสตร์ กรมแผนที่ทหาร
น้ำเป็นพยานหลักฐาน แสดงสัจจธรรมให้มนุษย์ตระหนัก พระครูวุฒิธรรมาธร เจ้าอาวาสวัดโบสถ์วรดิตถ์ อ. ป่าโมก จ. อ่างทอง
ปัจจัยกำหนดและประเด็นที่ต้องจารึกประวัติศาสตร์ปัจจัยกำหนดและประเด็นที่ต้องจารึกประวัติศาสตร์ 1 การเปลี่ยนแปลงสถาพภูมิอากาศและสภาพแวดล้อมในธรรมชาติ 2 วิถีชีวิตอยู่อาศัยกับน้ำ ค่านิยม และคุณภาพ “คน” ในสังคม > อาเซียน 3 การเปลี่ยนแปลงลักษณะการตั้งถิ่นฐาน โครงสร้างชุมชน 4 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการกิจการสาธารณะ ข้อสรุป: ลด “อัตตา” ของคนและองค์กร ไม่มุ่งประโยชน์ส่วนตนมากกว่า ส่วนรวมและประเทศชาติ
แผนพัฒนาฯ-การผังเมือง-นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมแผนพัฒนาฯ-การผังเมือง-นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม 2505 2510 2515 2520 2525 2530 2535 2540 2545 2550 2555 2560 แผน พัฒนา เศรษฐกิจ และ สังคม แห่ง ชาติ ฉบับที่ ในเขตกรุงเทพมหานคร(ศูนย์กลางการส่งสินค้าและที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม) • สนับสนุนการผลิตภาคเกษตรเพื่อการส่งออก • ส่งเสริมอุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการนำเข้า • ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ (เขื่อน ชลประทาน ถนน)
แผนพัฒนาฯ-การผังเมือง-นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมแผนพัฒนาฯ-การผังเมือง-นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม 2505 2510 2515 2520 2525 2530 2535 2540 2545 2550 2555 2560 แผ พัฒนา เศรษฐกิจ และ สังคม แห่ง ชาติ ฉบับที่ • พัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก (พ.ศ.2524) • ควบคุมการขยายตัวของ กทม. (เมืองโตเดี่ยว Primate city) • พัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาค 4 เมืองใน 4 ภาค แผ่ขยายไปยัง 5 จังหวัดปริมณฑลรอบ กทม. (สมุทรปราการ สมุทรสงคราม นครปฐมปทุมธานี นนทบุรี) พรบ. การส่งเสริมการลงทุน พ.ศ.2520
แผนพัฒนาฯ-การผังเมือง-นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมแผนพัฒนาฯ-การผังเมือง-นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม 2505 2510 2515 2520 2525 2530 2535 2540 2545 2550 2555 2560 แผ พัฒนา เศรษฐกิจ และ สังคม แห่ง ชาติ ฉบับที่ • บริหารการขยายตัวของภาคมหานคร เน้นแผนลงทุน 3 สาขา (การจราจรและการขนส่ง แหล่งน้ำและปัญหาน้ำท่วม ที่อยู่อาศัย) • ขยายโครงการพัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาคอีก 8 เมือง แผ่ขยายในพื้นที่จังหวัดรอบนอกที่ต่อเนื่องกับ 5 จังหวัดปริมณฑล กฎกระทรวงผังเมืองรวมฉบับแรก : ผังเมืองรวมเมืองระยอง เริ่มใช้บังคับ 2526
แผนพัฒนาฯ-การผังเมือง-นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมแผนพัฒนาฯ-การผังเมือง-นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม 2505 2510 2515 2520 2525 2530 2535 2540 2545 2550 2555 2560 แผ พัฒนา เศรษฐกิจ และ สังคม แห่ง ชาติ ฉบับที่ พื้นที่การส่งเสริม เขต 1 กรุงเทพมหานคร เขต 2 5 จังหวัดปริมณฑลรอบ กทม. (สมุทรปราการ สมุทรสงคราม นครปฐม ปทุมธานี นนทบุรี) เขต 3 จังหวัดอื่นๆทั่วประเทศ
ผังเมืองรวมที่เริ่มประกาศกฎกระทรวงบังคับใช้ 2505 2510 2515 2520 2525 2530 2535 2540 2545 2550 2555 2560 แผ พัฒนา เศรษฐกิจ และ สังคม แห่ง ชาติ ฉบับที่ เริ่มใช้บังคับ พื้นที่วางผัง จังหวัด กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสาคร นครปฐม ปทุมธานี นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา 2535 2537 2530,2533 2531,2539 2530,2540,2542,2550 2533 2548 2529,2539,2540 ทั้งจังหวัด ทั้งจังหวัด 2 ผัง - บางส่วนของจังหวัด 2 ผัง - บางส่วนของจังหวัด 4 ผัง - บางส่วนของจังหวัด 1 ผัง - บางส่วนของจังหวัด ทั้งจังหวัด 3 ผัง - บางส่วนของจังหวัด นางศันสนีย์ ศรีศุกรี ผู้เชี่ยวชาญด้านวิเคราะห์ผังเมือง
PLAN HIERARCHY AND CHARACTERISTIC ผังนโยบาย ผังอนุภาค ผังภาค ผังประเทศ ผังเมืองรวม ผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน ผังเมืองรวมจังหวัด การบังคับใช้ ผังเมืองเฉพาะ การจัดรูปที่ดิน แนวทางการพัฒนา ผังการพัฒนา
การควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินและกรรมสิทธิ์การควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินและกรรมสิทธิ์ ต่างประเทศควบคุมถึงโฉนด/แปลงที่ดิน ข้อกำหนดไทยควบคุมเป็นย่าน
Chicago เขตจำกัดความเจริญของเมือง พื้นที่ธุรกิจการค้า พื้นที่อยู่อาศัย มูลค่าเช่าที่ดิน พื้นที่การเกษตร * City limits กทม. ระยะทางจากกลางเมือง Bid Rent Theory
The Big Ideas ความคิดใหญ่รวบยอด • น้ำจะไม่ท่วมเช่นนี้อีก ถ้าเราลด “อัตตา” ร่วมมือกันอย่าง จริงจัง + จริงใจ
ปฎิรูปงานผังเมืองไทย • ปฎิรูปงานผังเมืองไทย…ต้นน้ำของการพัฒนาบ้านเมือง และจัดระเบียบสังคม (กายภาพ) สู่มาตรฐานสากล • ผังเมือง (Urban Planning) • หลักการ: การใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land use), ระบบคมนาคมขนส่ง สาธารณูปโภคและสาธารณูปการฯ (Planning & Control) • วิธีการ: การกำหนดเขตที่ดิน , (Zoning) • แม่กับลูก -> เป็นเรื่องเดียวกัน อย่าแยกกัน !
19542 Million People 19724 Million People 199510 Million People
พื้นที่เสี่ยงประสบอุทกภัย นิคมอุตสาหกรรม โรจนะ สหรัตนนคร บางปะอิน อยู่ในที่น้ำท่วมถึง