500 likes | 731 Views
กลุ่มตรวจสอบภายใน. กรมอนามัย. KM : Touch in mind. แผนปฏิบัติการในการบริหารความรู้ปี 2552. กลุ่มตรวจสอบภายใน. วัตถุประสงค์ จัดทำระบบควบคุมภายใน เพื่อให้ได้แนวทางในการปฏิบัติงาน เพื่อสร้างกลุ่มเรียนรู้ภายในหน่วยงาน. โดยมี คณะทำงาน และ CKO (Chief Knowledge Office) ดังนี้.
E N D
กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย KM : Touch in mind
แผนปฏิบัติการในการบริหารความรู้ปี 2552 กลุ่มตรวจสอบภายใน • วัตถุประสงค์ • จัดทำระบบควบคุมภายใน • เพื่อให้ได้แนวทางในการปฏิบัติงาน • เพื่อสร้างกลุ่มเรียนรู้ภายในหน่วยงาน
โดยมี คณะทำงาน และ CKO (Chief Knowledge Office) ดังนี้ 1. นางสาวสุหัชชา สันถวชาคร นักวิชาการตรวจสอบภายในชำนาญการ ประธาน (CKO) 2. นางสาวอรวรรณ ศรีสงคราม นักวิชาการตรวจสอบภายในชำนาญการคณะทำงาน 3. นางสาววิภาวดี ทิพมาตร เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป คณะทำงานและเลขานุการ 4. นายภูษิต จันทร์เอี่ยม พนักงานขับรถยนต์ คณะทำงานและ ผู้ช่วยเลขานุการ
Audit ‘& KM Vision 2008-2009 • การบริหารงานการตรวจสอบภายใน • - ระบบควบคุมภายในกลุ่มตรวจสอบภายใน • และการดำเนินงานบริหารความเสี่ยง • 2. การพัฒนาองค์กร • - PMQA
Intellectual Capital Mapping ฝ่ายบริหารทั่วไป แฟ้มสะสมงาน ฝ่ายตรวจสอบ 1 บอร์ด ศึกษาดูงาน CKO/ Farcilitator สุหัชชา ภูษิต ปริฉัฐ Farcilitator สุนทร อรวรรณ Farcilitator Web board ณัฐพล แอนอารียา Note taker สรุปบทเรียน Expli-N Internet คุณพรรณี เทียนทอง หส.กตส. ประธาน KM ดารณี Webblog ชุติมา Note taker กลอยใจ พิมพ์ภวดี Farcilitator อุษา KM กับภาคีเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ อรุณี Farcilitator Web Site ณัฐวรรณ ชาญยุทธ Note taker วิภาวดี Note taker ยุวารีย์ Note taker KM Team CoPs ฝ่ายตรวจสอบ 2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หมายเหตุ วงกลม - แสดงโครงสร้าง เส้นปะ เส้นทึบ – แสดงความสัมพันธ์ สี - แสดงระดับความสำเร็จ รูปดาว - แสดงแววดารา KM สีแดง = ยังไม่มีการใช้ KM ในเนื้องาน สีเขียว = มีการนำ KM ไปใช้ค่อนข้างมาก สีเหลือง = เริ่มมีการนำ KM ไปใช้งานบ้างเล็กน้อย สีฟ้า =มีการนำ KM ไปใช้อย่างกว้างขวางทั้งภายในและภายนอก
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2551 ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย
Self Assessment – KM เกณฑ์ประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2552 CR T CR T CR T C R T
Roadmap knowledge Management กรมอนามัย ปี 2551-2554 (เครื่องมือในการวางแผน KM สู่การเป็น LO องค์กรแห่งการเรียนรู้) สร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับคุณค่าของ KM สร้างการเรียนรู้ ให้เนียนในเนื้องาน ทุกหย่อมหญ้า สร้างสมรรถนะ & สร้างใน เป็นเครื่องมือ ขับเคลื่อนนโยบาย สารธารณะอย่างมี ส่วนร่วม สร้างเครือข่าย การเรียนรู้ (Explicit/Tacit) ถ่ายทอดสื่อสาร แนวทาง นโยบาย อบรม ศึกษาดูงาน Google health ใช้ข้อมูล สารสนเทศ ในการตัดสินใจ สร้างทีมนำ คำนึกถึง ผู้รับบริการ/ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย เรียนรู้ด้วนตนเอง มีกิจกรรม KM Empowerment visit พัฒนาขุมความรู้ เข้าถึงง่าย ทันสมัย เรียนรู้ด้วยตนเอง มีเวที ลปป ของ ผู้รับบริการ/ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย อย่างมี Commitment สร้างแรงจูงใจ สอดคล้องวิสัยทัศน์ เวที ลปรร ออก สื่อสารมวลชน ดูแล สนับสนุน คนดี สร้างการมีส่วนร่วม
Beyoud KM กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2552 จากโมเดลปลาทู สู่ Beyond KM คือ การมองทะลุกรอบด้วยการทำ CoPs(Communities of Practice) CoPs จะสำเร็จได้ต้องมีความร่วมมือร่วมใจซึ่งกันและกัน พร้อมกับรวมกลุ่มกันปฏิบัติ 1.มีเป้าหมายเดียวกัน 2.แชร์ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 3.แก้ปัญหาร่วมกัน 4.มีความสามัคคีกัน รับฟังความคิดเห็นของกันและกัน ต้องมีแกนนำคอยประสานงานกับจนท.ในหน่วยงานและมี Farcilitator คอยให้คำปรึกษา และมี Noet taker คอยจดทุกอย่างที่เล่าและสรุปบทเรียน เพื่อเผยแพร่ นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง และสามารถนำไปพัฒนา ประยุกต์ใช้กับงานได้จริง 2.อบรมผู้ตรวจสอบภายใน ประจำหน่วยงาน เป้าหมายทำ CoPs 1 เรื่องต่อการอบรม/ สัมมนา 1.OD : การพัฒนา องค์กรสู่ความเป็นเลิศ Farcilitatir Note tader 3.หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ
แบบฟอร์ม 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย/ภารกิจของหน่วยงานเอกสารหมายเลข 3 ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย
แบบฟอร์ม 2 : แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) แผ่นที่ 1 ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย ประเด็นยุทธศาสตร์ : การพัฒนาองค์กร องค์ความรู้ที่จำเป็น (K): การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง เป้าหมายของตัวชี้วัดตามคำรับรอง : ...................................
แบบฟอร์ม 2 : แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) แผ่นที่ 1 ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย ประเด็นยุทธศาสตร์ : การพัฒนาองค์กร องค์ความรู้ที่จำเป็น (K): การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง เป้าหมายของตัวชี้วัดตามคำรับรอง : ...................................
แบบฟอร์ม 1 : การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย เอกสารหมายเลข 3 ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย
แบบฟอร์ม 2 : แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) แผ่นที่ 2 ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย ประเด็นยุทธศาสตร์ : การพัฒนาองค์กร องค์ความรู้ที่จำเป็น (K): การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง เป้าหมายของตัวชี้วัดตามคำรับรอง : ...................................
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2551 ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย
Self Assessment – KM เกณฑ์ประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2551 C T T C C T T C
แบบฟอร์ม การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย
แบบฟอร์ม 1 : การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย
ทำไม กลุ่มตรวจสอบภายใน จึงต้องมีการจัดการความรู้ (KM) เนื่องจากปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วมากมีการแข่งขันสูง จึงจำเป็นต้องมีการเรียนรู้ให้เท่าทันต่อคู่แข่งขัน เรียนรู้ให้มากกว่าคู่แข่งขัน เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และเรียนรู้ให้ทันต่อเหตุการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพื่อนำไปพัฒนาองค์กรให้องค์กรมีความเป็นเลิศในการจัดการความรู้ (KM)
KM MONEY MONKEY • จัดให้มี Study group • จัดเวทีสัมมาและประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกับหน่วยงานภายในและภายนอก (CoPs) Knowledge Sharing (KS) การบริหารงานกลุ่มตรวจสอบภายใน Knowledge Vision (KV) KA KV KS Knowledge Assets (KA) • คู่มือผู้ตรวจสอบภายในประจำหน่วยงานส่งให้ ภาคี เครือข่าย • รวบรวมระเบียบฯต่างๆ ส่งให้ภาคี เครือข่าย • แหล่งรวมความรู้ KM Web • การพัฒนาให้เกิด CoPs โดยสร้างวัฒนธรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยประชุมกลุ่มย่อย โดยระบบควบคุมภายในทุกระดับ
KS – กระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเล่าเรื่อง (Success Story) ตารางแห่งอิสรภาพ (Core Competency Table) การประเมิน ตนเอง CoPs การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • วิเคราะห์ หา • ผู้พร้อมให้ • ผู้ใฝ่รู้ การสร้างแรงจูงใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในองค์กร องค์ความรู้ Best Practice Model
C/D Copy & Development การลอกเลียนแบบอย่างมีเทคนิค และการพัฒนาปรับปรุง
การประชุมกลุ่ม CoP – Community of Practice CoP – Community of Practice : การส่งเสริมให้เกิด ชุมชนแนวปฏิบัติ ในหัวข้อที่เป็นเทคนิคหรือความรู้ที่เป็นหัวใจในการ บรรลุวิสัยทัศน์หรือเป้าหมายหลักขององค์กร Facilitator : ดำเนินการกลุ่ม ควบคุมเวลา คอยเตือนให้ผู้เล่า เล่าตาม กติกา สรุปประเด็นเป็นระยะ ซักถามแบบให้ได้ข้อเท็จจริง Note taker : จดประเด็น บันทึกขุมความรู้ (Knowledge Assets) สมาชิกในกลุ่ม : เล่าเรื่องเกี่ยวกับความสำเร็จของตนตามหัวปลา และ ช่วยกันซักถาม และสกัดหรือถอดความรู้ออกมาเป็น ขุมความรู้ เพื่อการบรรลุหัวปลา คือการพัฒนาระบบ ราชการของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย
CoPs • มี 3 รูปแบบ / หรือ 3 ประเภท • การทำ CoPs มีรูปแบบดังนี้ก็ได้ • ไม่ต้องมาพบกันแบบ Face to Face ก็ได้ • ไม่จำเป็นต้องเล่า Success story อย่างเดียว มาจากปัญหาและวิธีแก้ปัญหาที่พบจากการทำงานก็ได้ • ไม่ต้องมารวมกลุ่มก็ได้ • สรุปการทำ KM ขอให้ความรู้ไหลเวียนก็เรียกว่า CoPs แล้ว อาจได้ความรู้จากคู่มือ/จากที่เราลง WebSite ไว้ก็ได้ ฯลฯ
การประชุมกลุ่ม 1. เล่าเรื่อง ความสำเร็จที่ภูมิใจ ของตน/กลุ่มของตน ในการพัฒนาระบบราชการของหน่วยงาน จนประสบความสำเร็จที่น่าภาคภูมิใจ (ในภาพรวมทั้งระบบ หรือสำเร็จเฉพาะบางตัวชี้วัด ก็ได้) 2. ช่วยกันตีความ และสกัดหรือถอดความรู้ออกมาเป็น ขุมความรู้ เพื่อการบรรลุหัวปลา คือการพัฒนาระบบราชการของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย
หลังจากได้รับความรู้จากการอบรม / ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการประชุม ก็ได้ให้เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานส่วนกลางและศูนย์อนามัยที่ 1-12 เล่าเรื่องปัจจัยแห่งความสำเร็จในการตรวจสอบภายในของหน่วยงานตนเอง โดยให้แบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม ให้หน่วยงานเลือกประธานประจำกลุ่ม เลือก Note taker ประจำกลุ่ม และมีเจ้าหน้าที่กลุ่มตรวจสอบภายในคอยเป็นวิทยากรประจำกลุ่ม และมีหัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในเป็น Facilitator
Knowledge Assets (KA) หมายเหตุ : สรุปรายงานการประชุม เรื่องการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ระหว่างวันที่ 2 – 4 มีนาคม 2552 ณ อัมพรริเวอร์ไซต์ รีสอร์ท จังหวัดสมุทรสงคราม
Knowledge Assets (KA) หมายเหตุ : สรุปผลการประเมินโครงการฝึกอบรมพัฒนาประสิทธิภาพระบบการตรวจสอบภายใน ระหว่างวันที่ 30 มีนาคม – 1 เมษายน 2552ณ โรงแรมยูนิแลนด์กอล์ฟ แอนด์ รีพอร์ท จังหวัดนครปฐม
Knowledge Assets (KA) หมายเหตุ : สรุปผลการประเมินโครงการฝึกอบรมหัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป ระหว่างวันที่ 30 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2552ณ แก่งกระจาน คันทรี คลับ รีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี
บทเรียน...จาก CoP • ทฤษฎีมีไว้อ้างอิง การเรียนรู้ที่แท้จริงต้องลงมือปฏิบัติ • การถกเถียง แนวคิด/วิธีการ KM ไม่จำเป็นต้องหาข้อยุติ ต้องเรียนไปรู้ไป เพราะคำตอบจะได้ในช่วงท้ายของบทสรุป ไม่ใช่ที่จุดเริ่มต้น • KM ต้องเริ่มจากความสำเร็จเล็ก ๆ • ต้องเชื่อมั่นในกระบวนการ KM ว่ามีประโยชน์จริง ไม่ใช่ทำเพราะภาคบังคับ • FA ในกลุ่มนักวิชาการที่ชัดเจน ต้องพัฒนาให้เป็น FA ที่เจนจัด • คุณลิขิตต้องเก่ง ต้องได้รับการพัฒนาทักษะ เพราะต้องทำความรู้ที่กระจัดกระจายให้เป็นหมวดหมู่ให้ได้ • การล้อมวงเล่าเรื่อง สนุก น่าสนใจ แต่ไม่เกิดประโยชน์ถ้าไม่มีการบันทึก
ตรวจสอบแฟ้ม Flow Chart (ผังขั้นตอนการปฏิบัติงาน) มีครบทุกกระบวนงานของหน่วยงาน
ตรวจสอบ Flow Chart มีการกำหนด รูปแบบอย่างน้อย 4 หัวข้อ ดังนี้ • ผู้รับผิดชอบ • 2.ขั้นตอนการดำเนินงาน • 3. จุดควบคุม • 4.ระยะเวลา
Flow Chart กลุ่มตรวจสอบภายใน
การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา จุดควบคุม ระยะเวลา ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ 1.เจ้าหน้าที่พัสดุรับบันทึกการจัดซื้อ/ /จ้างที่ได้รับอนุมัติจากฝ่าย ต่างๆ นางสาวชุติมา ขำกรณ์ นางสาวยุวารีย์ คำนิล - ตรวจสอบงบประมาณจากฝ่ายธุรการ - ตรวจสอบแผนการจัดซื้อ/จ้างราคาซื้อ/ จ้างครั้งสุดท้าย สืบราคาท้องตลาด ฯลฯ 2. เจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำรายงานขอซื้อ/จ้าง ตามระเบียบพัสดุ ข้อ 27 นางสาวชุติมา ขำกรณ์ นางสาวยุวารีย์ คำนิล 1 วัน 3. เจ้าหน้าที่พัสดุเสนอขอความเห็นชอบจากหัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน - ตรวจสอบให้เป็นไปตามระเบียบ พัสดุและระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นางสาวชุติมา ขำกรณ์ นางสาวยุวารีย์ คำนิล • - ตรวจสอบราคาเพื่อให้เกิดการจัดซื้อ • จ้างในราคาที่เหมาะสม • พิจารณาคุณสมบัติเฉพาะของบริการ • ให้ตรงความต้องการ • - สืบราคาอย่างน้อย 2 รายเพื่อเปรียบเทียบราคา นางสาวชุติมา ขำกรณ์ นางสาวยุวารีย์ คำนิล 4. เจ้าหน้าที่พัสดุดำเนินการสืบราคา 1 วัน
การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา จุดควบคุม ระยะเวลา ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ - ตรวจสอบรายการ,วงเงิน,ระยะเวลาส่งมอบ - ตรวจสอบวันครบกำหนดส่งมอบสินค้า/ งานจ้างให้ถูกต้องและตรงกับใบเสนอราคา นางสาวชุติมา ขำกรณ์ นางสาวยุวารีย์ คำนิล 5. เจ้าหน้าที่พัสดุออกใบสั่งซื้อ/จ้าง 1 วัน 6. เจ้าหน้าที่ธุรการติดต่อผู้ขาย / รับจ้างมารับใบสั่งซื้อ/จ้าง นางสาวชุติมา ขำกรณ์ นางสาวยุวารีย์ คำนิล - แจ้งให้ผู้รับจ้างติดอากรแสตมป์ให้ ครบถ้วนก่อนรับใบสั่งจ้าง 7. สร้างข้อมูลหลักฐานผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ตามระบบ GFMIS และนำส่งข้อมูล เข้าระบบ Intranet นางสาวชุติมา ขำกรณ์ นางสาวยุวารีย์ คำนิล - ใช้แบบฟอร์ม ผข.01 - ตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำส่ง 1 วัน - ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลการ จัดซื้อ/จ้าง และรายละเอียดอื่น - พิมพ์จากระบบ GFMIS แนบเรื่องจัดซื้อ/จ้าง 8. บันทึกข้อมูลการจัดซื้อ/จ้าง (PO) ตามระบบ GFMIS โดยใช้แบบฟอร์ม บส.01 และนำส่งข้อมูลเข้า ระบบ Intranet นางสาวชุติมา ขำกรณ์ นางสาวยุวารีย์ คำนิล
การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา จุดควบคุม ระยะเวลา ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ • - จัดทำบันทึกส่งใบสำคัญ คี PO • - นำ PO จากระบบ GFMIS แนบเรื่องจัดซื้อ/จ้าง • - ตรวจความครบถ้วนของหลักฐาน • จัดทำสรุประยะเวลาการปฏิบัติการจัดซื้อ/จ้าง กรณี • มี PO จ่ายตรงผู้ขายแนบประกอบหลักฐาน ส่ง คี PO (ข้อ9นับ รวมกับ ข้อ 7และ8 เป็น 1วัน) นางสาวชุติมา ขำกรณ์ นางสาวยุวารีย์ คำนิล 9. จัดส่งหลักฐานการจัดซื้อ/จ้าง ให้กองคลัง คี PO - ตรวจวันครบกำหนดวันส่งมอบ - ตรวจรายละเอียดของพัสดุ ตรงกับรายละเอียด แนบท้ายใบสั่งซื้อ/จ้าง - ตรวจใบส่งของใบแจ้งหนี้ ใบกำกับภาษี 10. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับพัสดุดำเนินการตรวจรับพัสดุตามระเบียบพัสดุข้อ 71 คณะกรรมการตรวจรับ 1 วัน • นำหลักฐานการตรวจรับและหลักฐาน • ที่ได้รับคืนจากกองคลังจัดชุด • - ตรวจสอบความครบถ้วนของเอกสาร 11. เจ้าหน้าที่พัสดุจัดเอกสารใบสำคัญ เสนอหัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน นางสาวชุติมา ขำกรณ์ นางสาวยุวารีย์ คำนิล 1 วัน 12. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบใบสำคัญตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน ของเอกสาร • ลงลายมือชื่อตรวจสอบในแบบ • ตรวจสอบความครบถ้วนของ • เอกสารประกอบการเงินจ่าย เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน
การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา จุดควบคุม ระยะเวลา ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน 13. ลงลายมือชื่ออนุมัติจ่ายเงิน - ดูลายมือชื่อผู้ตรวจสอบใบสำคัญใน แบบตรวจสอบความครบถ้วนฯ ก่อนลงลายมือชื่อ 1 วัน นางกลอยใจ แสงดอกไม้ นางสาวยุวารีย์ คำนิล 14. เจ้าหน้าที่ธุรการส่งเอกสาร เพื่อ เบิกจ่ายเงินถึงกองคลัง - ตรวจสอบใบสำคัญเพื่อเบิกจ่าย 1 วัน - จัดเก็บสำเนาใบกรรมการตรวจรับและ ใบส่งของเข้าแฟ้มและจดบันทึก ในสมุดทะเบียนคุมการเบิกจ่าย 15. เจ้าหน้าที่จัดเก็บสำเนาใบกรรมกาตรวจรับและใบส่งของเข้าแฟ้มและจดบันทึก เจ้าหน้าที่ธุรการ 8 วัน รวมระยะเวลาดำเนินการ
คำอธิบายขั้นตอนการดำเนินงานคำอธิบายขั้นตอนการดำเนินงาน 1. เจ้าหน้าที่พัสดุรับบันทึกการจัดซื้อ/จ้างที่ได้รับอนุมัติจากฝ่ายต่างๆ 2. เจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำรายงานขอซื้อ/จ้าง ตามระเบียบพัสดุข้อ 27 3. เจ้าหน้าที่พัสดุเสนอขอความเห็นชอบจาก หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน 4. เจ้าหน้าที่พัสดุเนินการสืบราคา 5. เจ้าหน้าที่พัสดุออกใบสั่งซื้อ/จ้าง 6. เจ้าหน้าที่พัสดุติดต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้างมารับใบสั่งซื้อ/จ้าง
คำอธิบายขั้นตอนการดำเนินงานคำอธิบายขั้นตอนการดำเนินงาน 7. เจ้าหน้าที่พัสดุสร้างข้อมูลผู้ขาย/ผู้รับจ้างตามระบบ GFMIS โดยใช้แบบฟอร์ม ผข.01 แล้วนำส่งข้อมูลเข้าระบบ Intranet 8. บันทึกข้อมูลการจัดซื้อ/จ้าง (PO) ตามระบบ GFMIS โดยใช้ แบบฟอร์ม บส.01 แล้วนำส่งข้อมูลเข้าระบบ Intranet และ พิมพ์ PO จากระบบไว้แนบเรื่อง 9. นำ PO จากระบบ GFMIS รวมชุดหลักฐานการจัดซื้อ/จ้าง จัดทำบันทึกส่งใบสำคัญและแบบสรุประยะเวลาการปฏิบัติการจัดซื้อ/ จ้าง กรณีมี PO จ่ายตรงผู้ขาย ส่งให้กองคลัง คี PO
คำอธิบายขั้นตอนการดำเนินงานคำอธิบายขั้นตอนการดำเนินงาน 10.คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับพัสดุ ตามระเบียบพัสดุข้อ 71 11.เจ้าหน้าที่พัสดุจัดชุดเอกสารใบสำคัญเสนอหัวหน้า กลุ่มตรวจสอบภายใน (ผ่านเจ้าหน้าที่ตรวจสอบใบสำคัญ) 12.เจ้าหน้าที่ตรวจสอบใบสำคัญตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน ของเอกสาร 13.เสนอหัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในลงลายมือชื่อรับอนุมัติ 14.เจ้าหน้าที่ธุรการส่งเอกสารเพื่อเบิกจ่ายเงินถึงกองคลัง 15.เจ้าหน้าที่จัดเก็บสำเนาใบกรรมการตรวจรับและจดบันทึก
การจัดทำแผนการตรวจสอบระยะสั้น 1 ปี จุดควบคุม ระยะเวลา ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ • เจ้าหน้าที่ตรวจสอบฯศึกษานโยบายกรมฯ • และนโยบาย คตป. ก่อนกำหนด • วัตถุประสงค์การตรวจสอบ หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน กำหนดวัตถุประสงค์การตรวจสอบ 1 วัน • การกำหนดขอบเขตการตรวจสอบ • หน่วยรับตรวจ • - กิจกรรมที่จะตรวจสอบ • ระดับความเสี่ยง • - ความถี่ในการตรวจสอบ • ระยะเวลาที่จะทำการตรวจสอบ • จำนวนคน วันที่ จะทำการตรวจสอบ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน • ประเมินความเสี่ยงของแต่ละหน่วยงาน • ก่อนกำหนดหน่วยรับตรวจ 4 วัน • จัดทีมเข้าตรวจสอบแต่ละหน่วยงาน • ให้เหมาะสม เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน ผู้รบผิดชอบ • กำหนดวงเงินที่ใช้ในการตรวจสอบ • ให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับ กำหนดงบประมาณที่ใช้ในการตรวจสอบ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน 5 วัน แผนการตรวจสอบประจำปี เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน 10 วัน รวมระยะเวลาดำเนินการ
คำอธิบายขั้นตอนการจัดทำแผนการตรวจสอบระยะสั้น 1 ปี 1. กำหนดวัตถุประสงค์การตรวจสอบ 2. กำหนดขอบเขตการตรวจสอบ 3. กำหนดผู้รับผิดชอบ 4. กำหนดงบประมาณที่ใช้ในการตรวจสอบ 5. จัดทำแผนการตรวจสอบประจำปี
รายงานผลการติดตามการประเมินรายงานผลการติดตามการประเมิน ระบบควบคุมภายใน (ข้อ6) ปีงบประมาณที่ผ่านมาและปีปัจจุบัน