230 likes | 281 Views
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสิทธิสวัสดิการของประชาชน ตามหมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย และ หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
E N D
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสิทธิสวัสดิการของประชาชนตามหมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 6 รัฐสภา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น
สรุป -องค์กรสวัสดิการชุมชนมีหลายหลายรูปแบบ เกิดขึ้นโดยความร่วมมือของสมาชิกในชุมชน -ชุมชนมีความหมายกว้าง พื้นที่ หน้าที่ -สิ่งสำคัญคือความเข้มแข็งและยั่งยืนขององค์กรที่ ตกลงร่วมกันในการดูแลสมาชิก ชุมชนและสังคม
สรุป -มีข้อเสนอขององค์กรสวัสดิการชุมชนในการส่งเสริม สนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่องค์กร สวัสดิการชุมชน -มีกฎหมายส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมรองรับการ ดำเนินงานขององค์กรสวัสดิการชุมชน
สรุป -มีหลายมาตรการในการหนุนเสริมองค์กรสวัสดิการ ชุมชน -ขณะที่องค์กรสวัสดิการชุมชนก็พัฒนารูปแบบในการ พึ่งตนเองโดยไม่ต้องพึ่งพิงรัฐหรือหน่วยงานต่าง ๆ
สรุป -การหนุนเสริมจากรัฐ -กฎหมายส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม ให้องค์กร สวัสดิการชุมชนที่ได้รับการรับรองตามกฎหมาย สามารถเสนอโครงการขอรับเงินสนับสนุนจาก กองทุน (ข้อจำกัดเงินน้อย ให้ได้เฉพาะโครงการ ริเริ่ม)
สรุป -นโยบายให้การหนุนเสริม ผ่านทาง พอช. (แต่ให้ เฉพาะกองทุนสวัสดิการชุมชนตำบล และมีกลไก นโยบายในการจัดการ) -ผู้นำการเปลี่ยนแปลงต้องรู้ข้อมูลและ -ร่วมในกระบวนการเพื่อหาสิ่งที่ดีที่สุดในการบริหารจัดการองค์กรสวัสดิการชุมชน
ถอดบทเรียนการประชุม • สิ่งที่ได้เกินคาด • สิ่งที่ยังไม่ได้ตามที่หวังไว้ • จะกลับไปทำอะไรต่อไป
สิ่งที่ได้เกินคาด • รายละเอียดการบริหารจัดการให้สำเร็จ • เรียนรู้สิ่งที่แตกต่าง ๆ • ความรู้ ๒ อนุ • แนวทางการขับเคลื่อนในการขยายเครือขาย • ภูมิใจที่ได้มาพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน • ไม่คิดว่ากม.เกี่ยวกับสวัสดิการ กว่า ๗๓ ฉบับ (ปวดหัวเกินคาด) • วิทยากรชัดเจน • ผู้พบเข้าร่วมทุกคน • กม. • ได้กระบวนร่วม • มีกม.เอื้อทำงาน/วิทยากรเอาเวทีอยู่ • เกิดภูมิปัญญา
สิ่งที่ยังได้ตามหวัง • ยังขาดสิ่งใหม่ • ระดับความเข้มแข็งต่างกัน • งบประมาณค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการเข้าประชุม /// • ยังขาดสิ่งที่นำไปแก้ปัญหา ระหว่าง พอช. และ พมจ. อยากให้สัมพันธ์กัน • ทำไมผู้ออกจากคุกถูกรังเกียจ อย่าเอาตราบาปติดตัว • บทเรียนจาหลายที่ยังไม่ได้ตามหวัง • นำไปทำซ้ำ ๆ • แนวทางทำให้สวัสดิการชุมชนยั่งยืน • ยังถามได้ไม่หมด สวัสดิการสังคม/สวัสดิการชุมชน
จะกลับไปทำอะไรต่อ • การใช้สวัสดิการชุมชนไปเชื่อมกับกลไกต่าง ๆ (เชน อบต.) ไปสู่เป้าหมายเข้มแข็งพึ่งตนเองได้ (เงินมาเอง) • ขยายเครือข่ายองค์กรสวัสดิการชุมชน • การนำไปเผยแพร่ • รู้ว่าจะเดินตรงไปเส้นทางไหน • ใช้สิทธิสวัสดิการ (เงินกู้ยืมสูงอายุ) • ได้จอมยุทธ์มาร่วมกัน • นำความรู้ไปปรับเข้าสู่กระบวน • จังหวัดสวัสดิการ (ภูเก็ต) • จับ พอช. และ พม. เข้าหากัน ต่างคนต่างรับรอง • ตั้งสถาบันสวัสดิการชุมชน • จัดตั้งสมาคมต่อรองพลัง • แก้ไข ร่างกม.นิติบุคคล/ยกเว้นภาษี