550 likes | 793 Views
ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการลงทุนด้านสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ( พ.ศ. 2550-2554). สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ 7 พฤศจิกายน 255 1 ณ ห้องประชุมสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. ความเป็นมา.
E N D
ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการลงทุนด้านสุขภาพในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ 7พฤศจิกายน 2551 ณห้องประชุมสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
ความเป็นมา • สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์) ได้เล็งเห็นความสำคัญของการลงทุนด้านสุขภาพอย่างเหมาะสมในแผนฯ 10 • แผนฯ 10 เน้นการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวม โดยมีคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและยึดหลักแนคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • การวางแผนการลงทุนด้านสุขภาพที่เหมาะสมจำเป็นต้องศึกษาวิเคราะห์และทบทวนสภาพปัญหาด้านสุขภาพในปัจจุบัน รวมทั้งมาตรการที่ดำเนินการอยู่และระบบการเงินการคลัง เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจทิศทางการลงทุน
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • เพื่อทบทวนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การตรวจคัดกรองผู้ป่วยระยะแรก การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่เกี่ยวข้องกับภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ 10 อันดับแรกของประเทศไทย • เปรียบเทียบมาตรการทางสุขภาพของภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ 10 อันดับแรกกับข้อเสนอแนะใน Disease Control Priorities in Developing Countries – 2nd edition • ประเมินการลงทุนด้านสุขภาพของภาครัฐและประมาณการความต้องการงบประมาณด้านสุขภาพในระยะกลาง (MTEF) รวมทั้งการสูญเสียผลิตภาพ (productivity) จากภาระโรคที่มีลำดับความสำคัญสูง • จัดทำข้อเสนอแนะในลักษณะกรอบและแผนการลงทุนด้านสุขภาพในแผนฯ 10 (พ.ศ. 2550-2554)
หัวข้อในการนำเสนอ • ภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่สำคัญในประเทศไทย • การสูญเสียผลิตภาพ (productivity loss) จากภาระโรคและปัจจัยเสี่ยง 10 อันดับแรกของเพศชายและหญิง • การลงทุนของภาครัฐด้านการส่งเสริมสุขภาพและ health sector medium term expenditure framework (MTEF) • ข้อเสนอมาตรการด้านสุขภาพสำหรับภาระโรคที่สำคัญ • HIV/AIDS • การควบคุมการบริโภคแอลกอฮอล์ • การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทย • การลดภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน • ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการลงทุนด้านสุขภาพในแผนฯ 10
10 อันดับแรกของกลุ่มโรคที่ก่อให้เกิดความสูญเสียปีสุขภาวะ (DALY)ในประชากรไทย พ.ศ. 2547 % of Total 52.6 42.8 หมายเหตุ– ประชากรไทยโดยรวมสูญเสียปีสุขภาวะเพิ่มขึ้นจาก 9.5 เป็น 9.9 ล้านปีสุขภาวะ ระหว่างปี 2542 และ 2547 ที่มา โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย พ.ศ. 2547
จำนวนปีสุขภาวะที่สูญเสียของประชากรไทยตามกลุ่มของสาเหตุระหว่างพ.ศ. 2542 และพ.ศ. 2547 เพศหญิง เพศชาย
จำนวนปีสุขภาวะที่สูญเสียจากภาระโรค พ.ศ. 2542 และ 2547จำแนกตามกลุ่มอายุ เพศชาย เพศหญิง
ปัจจัยเสี่ยงและจำนวนปีสุขภาวะที่สูญเสียจากภาระโรคของประชากรไทย พ.ศ. 2542 และ 2547 ที่มา โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย พ.ศ. 2547
แนวโน้มการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากรไทยแหล่งข้อมูล สอส. 2544, 2546, 2549
ความชุกของการดื่มสุราในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปแหล่งข้อมูลสอส. 2544, 2546 และ 2549
ข้อค้นพบจากการศึกษาภาระโรคข้อค้นพบจากการศึกษาภาระโรค • เมื่อจำแนกตามกลุ่มสาเหตุ การสูญเสียปีสุขภาวะจากภาระโรคที่เกิดจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อสูญเสียเพิ่มขึ้นทั้งในเพศชายและเพศหญิง ขณะที่กลุ่มโรคติดต่อมีการสูญเสียปีสุขภาวะลดลง • การสูญเสียปีสุขภาวะในปี 2547 ลดลงในกลุ่มอายุน้อยกว่า 30 ปี แต่เพิ่มขึ้นในกลุ่มที่มีอายุมากกว่า 30 ปีขึ้นไป • การสูญเสียปีสุขภาวะจาก unsafe sex และยาเสพติดลดลงในปี 2547 เนื่องจากการลดลงของ HIV/AIDS incidence และนโยบายการปราบปรามยาเสพติด ในขณะที่การสูญเสียปีสุขภาวะจากการบริโภคแอลกอฮอล์และยาสูบ การไม่สวมหมวกกันน็อค และความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น • แนวโน้มการสูบบุหรี่ของประชากรไทยลดลงแต่การดื่มสุราเป็นประจำกลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มประชากรที่มีรายได้น้อยและมีการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่า
ข้อจำกัดในการใช้ข้อมูลภาระโรคข้อจำกัดในการใช้ข้อมูลภาระโรค • Delay effects ของพฤติกรรมสุขภาพและการ expose ต่อปัจจัยเสี่ยง เช่น บุหรี่ แอลกอฮอล์ • Past experience และไม่สามารถ reflect emerging disease and future challenges เช่น pandemic of influenza เป็นต้น • ไม่ครอบคลุมนิยามของคำว่า ‘Health’ ขององค์การอนามัยโลก “Health is a state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity.”
II. Productivity loss due to 12 priority diseases from premature deaths and absenteeism
Productivity loss of each 12 BOD Productivity loss by gender and age group 1.1 Premature death - แนวคิดและวิธีการ • แนวคิดของทุนมนุษย์ (Human Capital Approach) • รายได้ตลอดชีวิตการทำงาน (Life-time earning) หากมีชีวิต Socio- economic survey 2549 BOD Project 2547 Life expectancy table Average wage (15 yr+) Wage/person if alive (discount rate 3%) No. of death x Productivity loss of premature death of all 12 BOD Source of data Data Calculated by IHPP team
จำนวนคนตายเนื่องจาก 12 ภาระโรค จำแนกตามเพศ ปี 2547 1.1 Premature death – ผลการศึกษา(1/3) ที่มา โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย พ.ศ. 2547
1.1 Premature death – ผลการศึกษา(2/3) ค่าเฉลี่่ยรายได้ (บาทต่อคนต่อปี) จำแนกตามกลุ่มอายุ และเพศ ที่มา: a) คำนวณจาก Socio-economic Survey 2549 สำรวจโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ b) Life table ของโครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย ปี 2547 c) การคำนวณของคณะทำงาน ปรับลดด้วย discount rate 3%
1.1 Premature death – ผลการศึกษา(3/3) การสูญเสียผลิตภาพจากการตายก่อนวัยอันควรเนื่องจาก 12 ภาระโรค
Productivity loss, absenteeism OP by gender and age group Productivity loss, absenteeism OP of each 12 BOD 1.2 Absenteeism OP - วิธีการศึกษา Narasuan U 2548 Individual OP, ICD10 59 hospitals Proportion of OP visit by health insurance scheme, gender and age group • หลักการ PQ Approach (price and quantity) Total OP visits from hh survey, noICD10 Total OP visits and absent days by each 12 BOD, health insurance scheme, gender and age group HWS 2548 Absent day due to OP SES 2549 Average wage (15 yr+) Productivity loss, absenteeism OP of all 12 BOD Source of data Data Calculated by IHPP team
1.2 Absenteeism OP - ผลการศึกษา (1/3) อัตราการรายงานว่าตนเองป่วยของประชากรไทย จำแนกตามเพศและกลุ่มอายุปี 2548 ที่มา HWS 2548 ข้อมูลจาก HWS 2548 -> total OP visits = 272 ล้านครั้ง (ไม่สามารถแจกแจงตามภาระโรคได้) เฉลี่ย self-reported illness 4.5 ครั้งต่อคนต่อปี
1.2 Absenteeism OP - ผลการศึกษา (2/3) ค่าเฉลี่ยจำนวนวันป่วยจนต้องหยุดภารกิจเมื่อป่วยแบบผู้ป่วยนอก จำแนกตามเพศ กลุ่มอายุ และ สวัสดิการรักษาพยาบาล (วัน/ครั้งการป่วย) ที่มา HWS 2548 อัตราการป่วย (ครั้ง/คน/ปี): ชาย (3.9) < หญิง (5.0) การขาดงาน (วัน/ครั้งป่วย): ชาย (2.12)> หญิง (1.43)
1.2 Absenteeism OP – ผลการศึกษา(3/3) การสูญเสียผลิตภาพจากการขาดงานเมื่อป่วยแบบผู้ป่วยนอก จำแนกตามเพศและ12 ภาระโรค
Total day loss due to absenteeism IP by gender and age group Productivity loss, absenteeism OP of each 12 BOD 1.3 Absenteeism IP - วิธีการศึกษา CHI 2548 Individual IP, ICD10 the whole country Number of IP and LOS by health insurance scheme, gender, age group and 12 BOD • หลักการ PQ Approach (price and quantity) + IHPP team Assumption: staying at home 2.5 days after discharge 2.5 days after discharge SES 2549 Average wage (15 yr+) x Productivity loss, absenteeism OP of all 12 BOD Source of data Data Calculated by IHPP team
1.3 Absenteeism IP – ผลการศึกษา(1/2) ค่าเฉลี่ยวันนอนต่อครั้งของผู้ป่วยใน 12 ภาระโรค ของทั้งสามระบบประกันสุขภาพ (วันนอนต่อครั้ง)
1.3 Absenteeism IP - ผลการศึกษา (2/2) การสูญเสียผลิตภาพจากการขาดงานเมื่อป่วยแบบผู้ป่วยใน จำแนกตามเพศและ 12 ภาระโรค
ผลการศึกษา Productivity loss from 12 BOD การสูญเสียผลิตภาพจากการตายก่อนวัยอันควรและการเจ็บป่วยเนื่องจาก 12 ภาระโรคในปี 2548 Total productivity loss from 12 BOD = 219,560million baht ~ 3.1%ofGDP in2548 Note: GDP in 2548 = 7,104,228 million baht
ภาระโรค 3 อันดับแรกที่มีความสูญเสียสูงสุดในประเทศไทย หมายเหตุ เป็นข้อมูล 2548 ยกเว้น DALY loss เป็นข้อมูลปี 2547 • อุบัติเหตุจราจร และ HIV/AIDS ก่อให้เกิดความเสียหายทั้ง 4 มิติ • เบาหวาน โรคหัวใจหลอดเลือด เกิดความสูญเสีย ใน 2 มิติ • ดังนั้นการปรับทิศทางการลงทุนด้านสุขภาพในประเทศไทย ควรจะให้ความสำคัญของการลดภาระโรค ในตารางด้านบน
III. Current investment in prevention and health promotion, MTEF for 10th Plan
Health care expenditure in Thailand by function in 2001 and 2005
Household consumption: tobacco, alcohol and healthMedian household expenditure per month Sources: Analyses from 2006 SES
2. MTEF – วิธีการ, scenarios Three scenarios
2. MTEF – ผลการศึกษา, status quo รายจ่ายสุขภาพในแต่ละประเภทกิจกรรมปี 2550-2554 ตาม status quo (หน่วย: ล้านบาท)
2. MTEF – ผลการศึกษา, status quo สัดส่วนรายจ่ายกิจกรรมสุขภาพตาม status quo ปี 2550-2554 Status quo: • P&P = 5-6% of total recurrent health expenditure • Proportion of P&P is decreasing over the time (2550-2544)
2. MTEF – ผลการศึกษา, scenario 1 รายจ่ายสุขภาพปี 2550-2554 ตาม scenario 1 – เพิ่มรายจ่าย P&P เป็นสองเท่า (หน่วยล้านบาท)
2. MTEF – ผลการศึกษา, scenario 2 รายจ่ายสุขภาพปี 2550-2554 scenario 2 – เพิ่มรายจ่าย P&P เป็น 4 เท่าของ status quo (หน่วย: ล้านบาท)
2. MTEF – ผลการศึกษา, scenario 3 รายจ่ายสุขภาพปี 2550-2554 ตาม scenario 3 – THE achieves 5% of GDP in 2554 (หน่วย: ล้านบาท)
MTEF – ผลการศึกษา, the most possible scenario • คำนึงถึงความสามารถในการจ่ายของรัฐ และ การใช้เงินที่เพิ่มขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ • Scenario 2 และ 3 มีผลให้ P&P เพิ่มขึ้นอย่างมากหลายเท่าตัว ในปี 2554 น่าจะมีความเป็นไปได้น้อยเมื่อเทียบกับ Scenario 1 (Scenario 2 เพิ่ม 7 หมื่นล้าน และ Scenario 3 เพิ่ม 1 แสนล้าน) • Scenario ที่มีความน่าจะเป็นไปได้มากที่สุด คือ scenario 1(เพิ่มรายจ่ายสุขภาพ P&Pเป็นสองเท่า ตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นไป)
IV. Policy recommendations to address 4 priority diseases/conditions
Criteria for selection of 4 priority diseases/risk factors Significant high disease burden and economic loss • HIV/AIDS • การควบคุมการบริโภคแอลกอฮอล์ • For prevention of HIV/AIDS and traffic injuries • การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทย • For traffic injuries • การลดภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน • For DM, CVD and other chronic non-communicable diseases
Disease Control Priorities in Developing Countries 2006 (second ed) – DCP2 • เปรียบเทียบมาตรการที่ประเทศไทยดำเนินการ กับ DCP2 พบว่า เราดำเนินการได้เท่ากับหรือมากกว่าที่แนะนำไว้ • ยังมีจุดอ่อนอยู่หลายประการที่สมควรแก้ไข http://www.dcp2.org/pubs/DCP
สถานการณ์และมาตรการด้านสุขภาพเกี่ยวกับ HIV/AIDS • ในปี พ.ศ. 2550 รายจ่ายเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหา HIV/AIDS คิดเป็น 6,728 ล้านบาท หรือ ประมาณ 105 บาทต่อหัวประชากร • ค่าใช้จ่ายสำหรับ HIV/AIDS ของประเทศไทยประมาณร้อยละ 83 มาจากทรัพยากรภายในประเทศ แต่ส่วนใหญ่เป็นไปเพื่อการรักษาพยาบาล • ประเทศไทยจัดว่ามีการระบาดของเชื้อเอชไอวีในรูปแบบของผสมระหว่าง generalize และ concentration scenario ตามแนวทางข้อกำหนดของ UNAIDS 2008 คือ มีการแพร่ระบาดในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ร้อยละ 1- 5 และ มีการแพร่ระบาดในกลุ่มเฉพาะ เช่น ชายรักชายมากกว่าร้อยละ 15 และกลุ่มหญิงบริการทางเพศมากกว่าร้อยละ 5 จึงต้องใช้มาตรการในการแก้ปัญหาแบบผสมผสาน ทั้งกลุ่มประชากรทั่วไปและกลุ่มเฉพาะ • ปัญหาหลัก: • ความไม่ครอบคลุมของการใช้ถุงยางอนามัยในกลุ่มเสี่ยง • การไม่สามารถเข้าถึงถุงยางอนามัยของหญิงบริการ, การสนับสนุนถุงยางอนามัยจากส่วนกลางลดลง, การขายบริการทางเพศแบบทางอ้อม • พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์มีแนวโน้มมีเพศสัมพันธ์เร็วขึ้น และมีการป้องกันด้วยถุงยางอนามัยต่ำประมาณเพียงร้อยละ 30 ในกลุ่มเพื่อนนักเรียน • การมีพฤติกรรม unsafe sex, ขาดความรู้และเริ่มมีเพศสัมพันธ์ในขณะที่มีอายุน้อย • ความยากลำบากในการพูดถึงเรื่องการป้องกันเอชไวอีในสถานศึกษา • ปัญหาการแพร่ระบาดสูงในกลุ่มชายรักชาย และผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด ประมาณร้อยละ 30 (สูงกว่ากลุ่มหญิงบริการทางเพศ)
มาตรการด้านสุขภาพเกี่ยวกับ HIV/AIDS ข้อเสนอแนะ • สนับสนุน ส่งเสริมและผลักดันงบประมาณ และกิจกรรมด้านการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรจากเงิน PP area-based และ อปท. ในการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเอดส์ในพื้นที่ • สนับสนุนงบประมาณการดูแลรักษาต่อเนื่อง และมุ่งเน้นการรวมการให้บริการการรักษาด้วยยาต้านไวรัสระหว่าง 3 กองทุนที่เกี่ยวข้อง • เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความสำคัญต่อการลงทุนด้านการป้องกัน เนื่องจากไม่สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลได้ • การให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองในประชากรทั่วไป และให้บริการตรวจคัดกรองในหญิงตั้งครรภ์ทุกราย • สนับสนุนงบประมาณ และส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มเสี่ยงหลักได้แก่ ชายรักชาย ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด กลุ่มหญิงบริการทางเพศตรงและแฝง และกลุ่มเยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษามุ่งเน้นการให้ความรู้ในการใช้ถุงยางอนามัย, sex health and education, solidarity and empowerment • ขยายการให้ข้อมูลข่าวสารและการศึกษาผ่านสื่อมวลชน (mass media) • ปรับปรุงระบบการติดตามประเมินผล
5 การโฆษณา การกระจายและการจัดจำหน่าย การผลิต • Production การบริโภค ปัญหา • Production 2 1 3 4 3 4 ขั้นตอนการซื้อ 2 6 7 7 On-premise 6 2 3 Off-premise มาตรการของนโยบายแอลกอฮอล์จำแนกตามระยะของการก่อปัญหา หมายเหตุ มาตรการทางภาษีและราคา การควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การดัดแปลงสถานการณ์และบริบทของการดื่ม มาตรการจัดการกับการขับขี่ยานพาหนะภายใต้อิทธิพลของแอลกอฮอล์ การควบคุมการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มาตรการสุขศึกษาและการโน้มน้าว มาตรการการบำบัดรักษาและการคัดกรอง
เป้าหมายหลักของมาตรการเป้าหมายหลักของมาตรการ ทำให้การบริโภคเป็นเรื่องยากขึ้น เพิ่มแรงต้านต่อการบริโภค การลดการบริโภค (ประชากรทั่วไปและกลุ่มเสี่ยง) [การป้องกันระดับปฐมภูมิ] อุปทาน อุปสงค์ 1. ภาษีและราคา 5. ควบคุมการโฆษณา 2. ควบคุมการเข้าถึง 6. ให้สุขศึกษาและโน้มน้าว มาตรการ การฟื้นฟู จัดการกับความเสี่ยงปัญหา 3. สถานการณ์และบริบทของการบริโภค 7. การบำบัดรักษาและคัดกรอง 4. การขับขี่ขณะมึนเมา ทำให้การบริโภคปลอดภัยขึ้น ฟื้นฟูและจำกัดขนาดของปัญหา มาตรการที่ประเทศไทยควรดำเนินการ – แอลกอฮอล์ การป้องกันปัญหาโดยตรงและการแก้ไขปัญหา (กลุ่มผู้บริโภค และผู้ประสบปัญหา) [การป้องกันระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ]
มาตรการในการลดภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนมาตรการในการลดภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน • ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงได้ คือ • ปรับรูปแบบการบริโภคอาหาร • ส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายและเคลื่อนไหวออกแรง มาตรการที่ได้รับการเสนอแนะ • การสร้างความรู้ความเข้าใจ และนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติ • เพิ่มแหล่งจำหน่ายอาหารสุขภาพ และเพิ่มส่วนแบ่งในตลาดอาหาร • ควบคุมการผลิตและโฆษณาสินค้าและอาหาร / เครื่องดื่มที่ทำลายสุขภาพ • จัดให้มีสถานที่ออกกำลังกายที่เพียงพอและราคาถูก • ปรับสภาพแวดล้อมให้สนับสนุนการเคลื่อนไหวออกแรง
ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยCVD and obesity(1) • Comprehensive risk reduction ในระดับประชากร เพื่อลด health risks ในหลายกลุ่มโรคพร้อมๆ กัน เช่น DM, stroke, HT, obesity เป็นต้น • ปัญหาเรื่อง implementation and administration • การขาดการประสานงาน ไม่มีเจ้าภาพหลัก/เจ้าภาพรอง • การประสานงานเป็นลักษณะ ad hoc ไม่ regular • บางครั้ง policy มีความขัดแย้งกันเองระหว่างกรมฯ • ไม่ควรมองเฉพาะว่ามีหรือไม่มี intervention แต่ควรดูเรื่อง how to scaling up ด้วย • มาตรการควรมีทั้งด้าน supply and demand side เช่น การให้ความรู้กับประชาชน และการสร้างความเข้มแข็ง • ต้องคิดเชิงระบบในการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการออกกำลังกายในวิถีชีวิตของผู้คน
ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยCVD and obesity(2) • มาตรการอาจอยู่นอกเหนือระบบบริการสุขภาพ โดยอาจมาจากพื้นที่และควรเป็นองค์ความรู้ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย • Policy บางอย่างโดยเฉพาะ non-health policy อาจได้ผลกับ health risk หลายอย่าง ต้องมีการวิเคราะห์ให้ดี เช่น • public transport หรือการสร้าง bicycle lane • การลดความแออัดของโรงพยาบาลขนาดใหญ่ • นโยบายเหล่านี้ต้องการ overarching public policies ที่ชัดเจน • Health care financing source บางครั้งไม่ได้มาจากแหล่งเดียว • การให้ความรู้ด้านสุขภาพขณะนี้ขาดตอน หยุดอยู่เพียงแค่ระดับโรงเรียน
ประสิทธิผลการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ระดับไขมันและน้ำตาลในเลือดสูงในประเทศไทย ที่มา การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3เฉพาะผู้ที่อายุมากกว่า 15 ปี
มาตรการในการควบคุมอุบัติเหตุจราจรมาตรการในการควบคุมอุบัติเหตุจราจร • สภาพปัญหา • มาตรการที่ผ่านมาจะเน้นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุมากกว่าการป้องกันที่ต้นเหตุ • ลักษณะนิสัยและค่านิยมของคนไทย เป็นปัญหาสำคัญในเรื่องคน • การบังคับใช้กฎหมายที่ไม่จริงจัง เข้มงวด ยังเป็นมาตรการที่อ่อน มาตรการที่ได้รับการเสนอแนะ– 5E • Enforcement • Engineering • Education • Evaluation • EMS