1 / 63

MBA’7 RU.Phetchabun

กรณีศึกษา 2 A. ดีแทคโฟกัส Micro Segment ปล่อย “ ซิมกันแดด ” ชิมลางตลาดแฮปปี้. MBA’7 RU.Phetchabun. 1. กิจการและการประกอบการ.

Download Presentation

MBA’7 RU.Phetchabun

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรณีศึกษา 2A ดีแทคโฟกัส Micro Segment ปล่อย “ซิมกันแดด” ชิมลางตลาดแฮปปี้ MBA’7 RU.Phetchabun

  2. 1. กิจการและการประกอบการ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด(มหาชน) ซึ่งปัจจุบันอยู่ภายใต้ชื่อทางการค้า “ดีแทค” ก่อตั้งเมื่อเดือนสิงหาคม 2532 เพื่อให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 800MHzและ1800MHzโดยได้รับสัมปทานจาก บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด(มหาชน) MBA’7 RU.Phetchabun

  3. เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของไทยให้ก้าวหน้า รัฐบาลมีนโยบาย อนุญาต ให้ผู้ประกอบการภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการ ให้บริการภายใต้สัญญาสัมปทานซึ่งอยู่ในรูปแบบสร้าง-โอน-ดำเนินการ หรือ Built-Transfer-Operate (BTO) จากรัฐวิสาหกิจ 2 ราย MBA’7 RU.Phetchabun

  4. คือ บริษัท ทีโอที จำกัด มหาชน(ทีโอที) ชื่อเดิม คือ บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด มหาชน(ทศท.) และบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด มหาชน (กสท.) ภายใต้สัญญา BTO ผู้ประกอบการเอกชนในฐานะผู้ได้รับสัมปทานจะดำเนินการสร้างเครือข่ายและโอนสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับเครือข่ายให้แก่ผู้ให้สัมปทาน เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนกับสิทธิในการใช้คลื่นความถี่ MBA’7 RU.Phetchabun

  5. การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการของบริษัท - พ.ย. 2533 บริษัทได้เข้าทำสัญญาร่วมงานกับ กสท.เพื่อให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยมีส่วนแบ่งรายได้ตามสัญญาร่วมการงานประเภท“สร้าง –โอน - ดำเนินการ(Build – Transfer - Operate)” MBA’7 RU.Phetchabun

  6. - ก.พ.2537 บริษัทได้เข้าทำสัญญา เชื่อมโยงโครงข่ายกับบริษัททีโอทีจำกัด มหาชน(เดิมคือ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย) - พ.ค. 2543 บริษัท ยูไนเต็ด คอมมู-นิเคชั่น อินดัสตรี จำกัด(มหาชน) ขายหุ้นของบริษัทให้แก่บริษัท เทเลนอร์ เอเชีย พีทีอี MBA’7 RU.Phetchabun

  7. - มี.ค. 2544 บริษัทเริ่มใช้ชื่อทางการค้า “ ดีแทค ” DTAC และนับเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในวิธีการดำเนินธุรกิจการตลาดของบริษัท - เม.ย. 2545 ปลดล็อกอีมี่ ( IMEI Codes ) ซึ่งทำให้ลูกค้าสามารถนำเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกชนิดมาใช้บนโครงข่ายของบริษัทได้ MBA’7 RU.Phetchabun

  8. - ก.พ. 2546 เปิดให้บริการ เชิงพาณิชย์สำหรับ บริการ MMS(Multimedia Messaging Service) - เม.ย. 2546 นำเสนอแพ็กเกจ “ My” สำหรับ ลูกค้าในระบบรายเดือน ซึ่งอัตราค่าบริการจะ ลดลงตามจำนวนนาทีที่ใช้ - พ.ค. 2546 เปิดตัว “Happy Dprompt” ซึ่ง เป็นบริการในระบบเติมเงิน ซึ่งให้ผู้ใช้บริการ สามารถเลือกหนึ่งในสี่ช่วงเวลาของวันเพื่อได้รับ อัตราโทรลดพิเศษ MBA’7 RU.Phetchabun

  9. - ก.พ. 2547 เปิดตัวบัตรเติมเงิน 50 บาท ซึ่งเป็นบัตรเติมเงิน ที่มีมูลค่าต่ำที่สุดเป็นครั้งแรกในประเทศไทย - พ.ค. 2547 นำเสนอบริการ Happy-Go-Inter เพื่อให้บริการระหว่างประเทศสำหรับลูกค้าระบบเติมเงินตาม ข้อตกลงที่บริษัททำไว้กับผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก - ก.ค. 2547 เปิดตัวบริการ “ ใจดีให้ยืม ” MBA’7 RU.Phetchabun

  10. - ต.ค. 2547 เปิดตัวบริการ “ ใจดีให้แลก ” - ม.ค. 2551 ดีแทคเข้าซื้อกิจการบริษัท เพย์สบาย ซึ่งเป็นผู้ให้บริการ ระบบชำระเงิน ออนไลน์ ดีแทคร่วม มือกับ กสท.ทำการทดลอง 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz ที่สถานีฐาน จ.มหาสารคาม - ต.ค. 2549 เปิดตัวบริการ ซิมม่วนซื่น สำหรับลูกค้าในภาคอีสานซึ่งเป็นการตลาด เฉพาะภูมิภาคครั้งแรกของดีแทค MBA’7 RU.Phetchabun

  11. - ต.ค. 2550 ปรับภาพลักษณ์แบรนด์ดีแทค โดยเน้นการสร้างความรู้สึกที่ดีให้แก่ลูกค้า(Feel Good)พร้อมใช้โลโก้ใหม่ Fan – ใบพัดสีฟ้า - มี.ค. 2551 ดีแทคร่วมกับธนาคารกสิกรไทย เปิดตัว “ATM SIM” บริการ ธนาคารบนมือถือ รายแรกของไทย MBA’7 RU.Phetchabun

  12. - เม.ย. 2551 ดีแทค เข้าซื้อกิจการคลื่นวิทยุ FAT Radio เพื่อเตรียมความพร้อม ด้านคอนเทนท์ สำหรับธุรกิจ 3G - มี.ค. 2551 ดีแทคร่วมกับธนาคารกสิกรไทย เปิดตัว “ATM SIM ” บริการ ธนาคารบนมือถือ รายแรกของไทย - เม.ย. 2551 ดีแทค เข้าซื้อกิจการคลื่นวิทยุ FAT Radio เพื่อเตรียมความพร้อมด้านคอนเทนท์ สำหรับธุรกิจ 3G MBA’7 RU.Phetchabun

  13. การเปลี่ยนแปลงของดีแทคการเปลี่ยนแปลงของดีแทค MBA’7 RU.Phetchabun

  14. 2. กิจกรรม 2.1 บริษัทฯ ได้ทำการทุ่มงบในการศึกษาวิจัย พฤติกรรมผู้บริโภค เพื่อศึกษาเชิงลึกถึงไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภค เพื่อให้ได้ข้อมูล(Data Mining) ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้าแบบตัวบุคคล ซึ่งจะช่วยเสนอโปรโมชั่นที่ตรงตามความต้องการของลูกค้าในกลุ่มย่อยๆ ได้มากขึ้น MBA’7 RU.Phetchabun

  15. 2.2 บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย โดยใช้การโฆษณาทางโทรทัศน์ โดยเน้นเฉพาะรายการผู้หญิง แทนการโฆษณาตลอดทั้งวัน หรือทำการตลาดผ่านร้านเครื่องสำอาง MBA’7 RU.Phetchabun

  16. 3.ผลิตภัณฑ์ ซิม 15 หยกๆ 16 หย่อนๆ รายละเอียดโปรโมชั่น อัตราค่าโทร (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) 1.โทรในเครือข่ายดีแทค นาทีละ 15 สต. ตั้งแต่ 4 ทุ่ม - 10 โมงเช้า นอกช่วงเวลา นาทีละ 1 บาท 2. โทรนอกเครือข่ายดีแทค นาทีละ 1 บาท ตลอด 24 ชั่วโมง อัตราค่าส่ง SMS ภายในประเทศ MBA’7 RU.Phetchabun

  17. ซิมคงกระพัน รายละเอียดโปรโมชั่น โทรนาทีละ 99 สต. และ SMS ข้อความละ 99 สต.ทุกเครือข่าย ตลอด 24 ชม.*ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิ่ม 7% ใช้เมื่อไหร่ ได้วัน 1,000 ชม. ทั้ง โทรออก/SMS/MMS/Happy internet หรือ เติมเงิน ซิมหาย ส่งซิมฟรีถึงบ้าน ซื้อและเปิดใช้ภายใน 31 ก.ค. 53 และใช้สิทธิได้ถึง 31 ธ.ค. 54 MBA’7 RU.Phetchabun

  18. ซิมเปิ้ล รายละเอียดโปรโมชั่น อัตราค่าโทร ช่วง 90 วันแรก ตั้งแต่เปิดใช้ โทรนาทีละ 1 บาท ทุกเครือข่าย 24 ชม.หลังจาก 90 วันแรก คิดค่า โทรนาทีละ2 บาท เติมเงินเท่าไร ก็ใช้ได้ นาน 1 ปี โดยจะได้รับวันใช้งานเพิ่มภายใน 24 ชม.หลังจากการเติมเงิน ซิม ราคา 49 บาท ได้โทรฟรี 15 บาท วันใช้งาน 30 วันทันที ที่เปิดใช้บริการซื้อและเปิดใช้ภายใน 31 ก.ค. 53 และใช้สิทธิ ได้ถึง 30 มิ.ย. 54 MBA’7 RU.Phetchabun

  19. ซิมม่วนซื่น รายละเอียดโปรโมชั่น อัตราค่าโทร (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) โทรในเครือข่ายดีแทค:เฉพาะกลุ่มเลขหมายที่ ผู้ให้บริการกำหนด สำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คิดค่าโทร นาทีแรก 2 บาทต่อไปนาทีละ 50 สต. โทรนอกเหนือกลุ่มเบอร์ดังกล่าว: คิดค่าโทร นาทีแรก 2 บาท MBA’7 RU.Phetchabun

  20. ต่อไปนาทีละ 1 บาท ซิมราคา 49 บาท ได้โทรฟรี 15 บาท วันใช้งาน 30 วัน ทันที ที่เปิดใช้บริการ เติมเงินเท่าไร ก็ใช้ได้นาน 1 ปี โดยจะได้รับวัน ใช้งาน เพิ่มภายใน24 ชม. หลังจากการเติมเงิน ซื้อและเปิดใช้ภายใน 31 ก.ค. 53 และใช้สิทธิ ได้ถึง 30 มิ.ย. 54 MBA’7 RU.Phetchabun

  21. ซิมแฮปปี้ รายละเอียดโปรโมชั่น ซิมแฮปปี้ 199 บาทรับโทรฟรี 300 บาท ซิมแฮปปี้ 99 บาท รับโทรฟรี 35 บาท อัตราค่าโทร (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) 1. โทรในเครือข่ายดีแทค นาทีละ 55 สต. ตลอด 5 ทุ่ม - 5 โมงเย็น นอกช่วงเวลา นาทีละ 1 บาท 2. โทรนอกเครือข่ายดีแทค นาทีละ 1 บาท ตลอด 24 ชั่วโมง ซิมแฮปปี้มีให้เลือก MBA’7 RU.Phetchabun

  22. ซิมแฮปปี้อินเตอร์เน็ตซิมแฮปปี้อินเตอร์เน็ต รายละเอียดโปรโมชั่น อัตราค่าบริการ (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ) - ค่าแฮปปี้อินเทอร์เน็ตนาทีละ 25 สต. - ค่าโทรนาทีละ 1 บาท ทุกเครือข่าย ตลอด 24 ชม. รับวันเพิ่มอีก 100 วัน ทุกครั้งที่เติมเงิน เพิ่มสะสม สูงสุด 365 วัน ซิมราคา 69 บาท ได้โทรฟรี 5 บาท วันใช้งาน 30 วัน MBA’7 RU.Phetchabun

  23. ทันทีที่เปิดใช้บริการ ซื้อและเปิดใช้ภายใน 31 ก.ค. 53 รับสิทธิใช้งานได้ถึง 31 ธ.ค. 53 รับฟรี! Happy internet 300 นาที ใช้ได้นาน 30 วัน ทันที ที่ได้รับ SMS ยืนยันการเปิดใช้บริการ สิทธิประโยชน์ มากกว่าด้วยด้วยซิมแฮปปี้อินเทอร์เน็ต MBA’7 RU.Phetchabun

  24. แฮปปี้ แคนดี้ซิม รายละเอียดโปรโมชั่น อัตราค่าบริการ “แฮปปี้ แคนดี้ซิม” (ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิ่ม) ค่าโทรนาทีละ 1 บาท ทุกเครือข่าย ตลอด 24 ชม. ส่ง SMS ข้อความละ 3 บาท ต่อเลขหมาย และ MMS ข้อความละ 5 บาทต่อ เลขหมาย ค่าแฮปปี้อินเทอร์เน็ตนาทีละ 1 บาท MBA’7 RU.Phetchabun

  25. ซิมกันแดด รายละเอียดโปรโมชั่น อัตราค่าโทร (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) 1. โทรในเครือข่ายดีแทค นาทีละ 29 สตางค์ ตั้งแต่นาทีแรก ช่วง 6 โมงเช้า – 6 โมงเย็น นอก ช่วงเวลา นาทีละ 1.29 บาท MBA’7 RU.Phetchabun

  26. 2. โทรนอกเครือข่ายดีแทค นาทีละ 1.29 บาท ตลอด 24 ชั่วโมง ซิมราคา 49 บาทได้โทรฟรี 15 บาท วันใช้งาน 30 วัน ทันที ที่เปิดใช้บริการ ซื้อและเปิดใช้ภายใน 31 ก.ค. 53 และใช้สิทธิได้ถึง 31 ธ.ค. 53 ผู้ที่เปิดใช้ “ซิมกันแดด” ตั้งแต่วันนี้ – 31 ก.ค. 53 จะได้รับโทรฟรี 15 บาท วันใช้งาน 30 วัน และอัตราค่าบริการโดยอัตโนมัติหลังได้รับการยืนยันทาง SMS ภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากเปิดใช้บริการ สามารถใช้สิทธิได้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 53 MBA’7 RU.Phetchabun

  27. 4. สถานการณ์ทางการตลาด ในปัจจุบันสถานการณ์ทางการตลาดโทรคมนาคมในเมืองไทยมีอัตราการแข่งขันสูงมาก อีกทั้งการมีบริษัทคู่แข่งที่อยู่ในตลาด ทำให้ผู้บริโภคมีอำนาจในการเลือกซื้อค่อนข้างสูง การขยายตลาดทำได้ยาก MBA’7 RU.Phetchabun

  28. แม้ว่าภาพรวมจะเกิดภาวะอิ่มตัวแล้ว แต่ค่าจำนวนและสัดส่วนดังกล่าว มิได้เป็นการลดปริมาณลงในทันทีเนื่องจากผู้ให้บริการตระหนักดีว่าในสถานการณ์ที่การใช้บริการทางเสียง ผ่านบริการโทรศัพท์ประจำที่ลดลงนั้นจะมีผลทำให้รายได้ต่อเลขหมายลดลงด้วยเช่นกันฉะนั้นจึงเป็นแรงผลักดันให้ผู้ประกอบการพยายามรักษาฐานลูกค้าเดิมและ เพิ่มรายได้ต่อเลขหมาย MBA’7 RU.Phetchabun

  29. การส่งเสริมการขายในลักษณะที่ทำให้อัตราค่า การส่งเสริมการขายในลักษณะที่ทำให้อัตราค่า • ใช้บริการต่ำลงในความรับรู้ของผู้ใช้บริการ • - ค่าบริการเหมาจ่ายรายเดือน • ค่าบริการเรียกออกทางไกลในประเทศด้วย • อัตราคงที่ • ค่าบริการสำหรับการเรียกไปยังโทรศัพท์เคลื่อนที่ • ด้วยอัตราค่าบริการใกล้เคียงกับอัตราค่าบริการ • โทรศัพท์เคลื่อนที่ MBA’7 RU.Phetchabun

  30. 5. พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมการซื้อ การเลือกซื้อของผู้บริโภค จะมีความแตกต่างกันทั้ง อายุ รายได้ ระดับการศึกษา และรสนิยม จากกรณีศึกษา 2A ดีแทคได้ทุ่มงบประมาณในการทำการตลาดแบบ Micro Segmentation โดยการใช้ข้อมูลจาก Data Mining ที่ได้จาการศึกษาพฤติกรรมการโทรของลูกค้ากว่า 18 ล้านคน และพบว่ากลุ่มผู้หญิงอายุ 25 – 35 ปี MBA’7 RU.Phetchabun

  31. ที่ตัดเป็นกลุ่ม Valued Customer เป็นกลุ่มที่มีความ หลากหลาย แม้จะมีสัดส่วน อยู่ราว 42% ซึ่งน้อยกว่า ผู้ชายที่อยู่ 58% แต่กลับเป็นกลุ่มที่มีการใช้งานสูงกว่า กลุ่มผู้ชาย มีพฤติกรรมการใช้งานด้วยค่าโทรที่ค่อนข้าง คงที่ ประมาณ 266 บาทต่อเดือน ชอบการทำโปรโมชั่น และกว่า 60% เป็นการใช้โทรศัพท์ในช่วงกลางวัน เป็นหลัก MBA’7 RU.Phetchabun

  32. สิ่งที่กระทบต่อพฤติกรรมผู้บริโภคสิ่งที่กระทบต่อพฤติกรรมผู้บริโภค ลักษณะทางวัฒนธรรม สังคม ปัจจัยส่วนบุคคล และลักษณะทางจิตวิทยามีอิทธิพลอย่างมากต่อ การตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค ปัจจัยทางวัฒนธรรม มีอิทธิพลอย่างมากต่อพฤติกรรมผู้บริโภค ซึ่งวัฒนธรรมเป็นพื้นฐานพฤติกรรมของมนุษย์ ที่เกิดจากการเรียนรู้ ค่านิยม การรับรู้ ความต้องการ วัฒนธรรมจึงมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจ MBA’7 RU.Phetchabun

  33. การประเมินทางเลือก การประเมินทางเลือก คือ วิธีการที่ผู้บริโภค ใช้ข้อมูลที่มีนำมาประเมินตราผลิตภัณฑ์ที่อยู่ใน กลุ่มสินค้าที่เลือก ปกติแล้วผู้บริโภคที่มีทัศนคติ ต่อตราสินค้าที่แตกต่างกัน โดยผ่านกระบวนการ ประเมินการซื้อจากลักษณะส่วนตัวของผู้บริโภค และสถานการณ์การซื้อ MBA’7 RU.Phetchabun

  34. เป็นลูกค้ากลุ่มที่มีพฤติกรรมการใช้สินค้าที่มีราคาถูก พฤติกรรมการใช้งานค่อนข้างคงที่มีอัตราการใช้งานโทรศัพท์สูงในช่วงเวลากลางวัน MBA’7 RU.Phetchabun

  35. 6. กลุ่มเป้าหมาย 6.1 เป็นกลุ่มลูกค้าหญิงสาววัยทำงาน 6.2 หญิงสาววัยทำงานอายุระหว่าง 25 – 35 ปี 6.3 มีการใช้งานโทรศัพท์ในช่วงกลางวันสูง 6.4 เป็นผู้มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจ และสังคมอยู่ในระดับกลางขึ้นไป 6.5 เป็นผู้ที่มีรสนิยม และทัศนคติที่ดีต่อ Happy DTAC 6.6 ชอบความสะดวกสบาย และทันสมัย คล่องตัว MBA’7 RU.Phetchabun

  36. 7. กลยุทธ์การตลาด 7.1 กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ 7.2 กลยุทธ์ด้านราคา 7.3 ช่องทางการจัดจำหน่าย 7.4 กลยุทธ์ในด้านโปรโมชั่น MBA’7 RU.Phetchabun

  37. DTAC : SWOT ANALYSIS • S : จุดแข็ง • DTAC เป็นบริษัทฯ ที่มีชื่อเสียง มีภาพลักษณ์ที่ดี สร้าง • การยอมรับจากผู้บริโภคได้ง่าย • - มีผลิตภัณฑ์/สินค้าหลากหลาย เป็นที่รู้จักเป็นอย่างดี • จากผู้บริโภคภายใต้ Brand Happy DTAC ทำให้เกิด • การรับรู้และ สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค • บริษัทฯ มีการศึกษาวิจัย พัฒนาผลิตภัณฑ์ อยู่ตลอด • เวลาเพื่อตอบสนอง ความต้องการ และเป็นการเพิ่ม • ทางเลือกในการใช้บริการให้แก่ผู้บริโภค MBA’7 RU.Phetchabun

  38. มีช่องทางการจัดจำหน่ายที่กว้าง มีสินค้าวาง • จำหน่ายตามร้านค้า • ตัวแทน ร้านค้าทั่วไป เป็นการเข้าถึงกลุ่ม • ลูกค้าเป้าหมายให้ได้ทั่วถึง ง่าย และรวดเร็ว • W : จุดอ่อน • ผลิตภัณฑ์เป็นสินค้าทดแทน และสามารถ • ลอกเลียนแบบได้ง่าย • โปรโมชั่นของผลิตภัณฑ์ มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ทำให้ผู้บริโภคตามไม่ทัน MBA’7 RU.Phetchabun

  39. O : โอกาส • การให้บริการด้วย สัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ • ในระบบความถี่ 800MHz และ 1800MHz • เป็นสัญญาณ ที่มีความชัดเจน • นำกลยุทธ์ด้านการตลาด Micro Segmentation • เข้ามาทำการตลาดได้ดี สื่อถึงผู้บริโภคได้รวดเร็ว • การได้รับรางวัลต่างๆ มากมาย ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ ในแบรนด์ DTAC • DTAC สร้างความแตกต่างทางด้านผลิตภัณฑ์ และ โปรโมชั่นที่ออกมาได้รวดเร็ว MBA’7 RU.Phetchabun

  40. T : อุปสรรค • - อัตรา การใช้งานโทรศัพท์มือถือ ของประเทศ • เมื่อเทียบกับจำนวนประชากร ใกล้เต็ม 100% • ส่วนครองตลาดของโทรศัพท์มือถือ เป็นอันดับ • ที่ 2 รองจาก AIS • ผู้บริโภคมีทางเลือกในการเลือกใช้โปรโมชั่นของ • ผลิตภัณฑ์มากและหลากหลาย • - คู่แข่งทางการตลาด คือ AIS และ TURE MBA’7 RU.Phetchabun

  41. 8. วัตถุประสงค์ทางการตลาด 8.1 เพื่อขยายฐานลูกค้าให้มากขึ้น โดยตั้งเป้าขยายฐานลูกค้าเดือนละ 1 แสนราย โดยการดึงลูกค้าเก่าของดีแทคที่ออกจากระบบเดิม ให้เพื่อหันมาใช้ซิมกันแดด และดึงลูกค้าของค่ายอื่นๆ คือทั้งของ AIS และ TRUE ที่หันมาใช้ซิมกันแดด ที่ให้ข้อแตกต่างที่ลูกค้าสามารถเลือกใช้ได้ MBA’7 RU.Phetchabun

  42. 8.2 Brand Loyalty ความภักดี ในตราสินค้า คือ ให้ผู้บริโภคมี ทัศนคติที่ดีต่อดีแทค ไม่ว่าจะเกิดจาก ความเชื่อมั่น การนึกถึง หรือตรงใจผู้บริโภค ทำให้ เกิดการซื้อซ้ำต่อเนื่องเรื่อยมา

  43. 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 9.1 ยอดขายเพิ่มขึ้นเดือนละ 4,900,000 บาท เพราะการขยายฐานลูกค้าถึงเดือนละ 1 แสนราย ซิมกันแดด SPF 29 สตางค์ราคาอยู่ที่ 49 บาท 9.2 กลุ่มลูกค้าเพิ่มขึ้นเดือนละ 1 แสนราย โดยมีทั้งลูกค้าเก่าของดีแทคที่ออกจากระบบ และลูกค้าจากค่ายอื่นที่หันมาใช้ซิมกันแดดเพิ่มขึ้น MBA’7 RU.Phetchabun

  44. 9.3 ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น และผลกำไรจาก การดำเนินการเพิ่ม 9.4. การประหยัดงบประมาณด้านการตลาด จาก การทำตลาด ในแนวทาง Micro Segmentation ที่เจาะกลุ่มเป้าหมายที่มีขนาดเล็กลง

  45. 10.ปัญหาและอุปสรรค 10.1 ลูกค้ามีทางเลือกที่หลากหลาย ปัญหาที่เกิดขึ้นกับซิมกันแดดก็คือ ลูกค้าหันไปใช้ซิมอื่นที่มีโปรโมชั่นที่น่าสนใจและดึงดูดใจกว่า 10.2 พฤติกรรมการเลือกใช้โปรโมชั่น และการเลือกใช้มีการเปลี่ยนไปตามกระแสนิยม เมื่อมีซิมใหม่เกิดขึ้นและมีโปรโมชั่นที่ถูกใจ ลูกค้าก็จะออกจากระบบของซิมกันแดด หันไปใช้ซิมใหม่และโปรโมชั่นใหม่อยู่เสมอ MBA’7 RU.Phetchabun

  46. 10.3 ลูกค้าที่ไม่ชอบการเปลี่ยนหมายเลขโทรศัพท์ บ่อยๆ ทำให้ไม่สามารถที่จะเสนอซิมกันแดด SPF 29 สตางค์ ให้กับลูกค้า ในกลุ่มนี้เนื่องจาก ลูกค้า ไม่ต้องการเปลี่ยนหมายเลขโทรศัพท์ อาจจะด้วย เหตุผลทางธุรกิจหรือเหตุผลอื่น MBA’7 RU.Phetchabun

  47. 11. กลุ่มนำเสนอ 1 ประเด็น เพิ่มความหลากหลายในโปรโมชั่น จากเดิมค่าโทร 0.29 สตางค์ตั้งแต่นาทีแรก ในช่วงเวลาตั้งแต่ 6 โมงเช้าถึง 6 โมงเย็น เฉพาะเครือข่ายดีแทค เป็นค่าโทร 0.29 สตางค์ ในช่วงเวลาตั้งแต่ 6 โมงเช้าถึง 6 โมงเย็น ทุกเครือข่าย ส่วนนอกเวลาและนอกเครือข่ายคิดค่าบริการนาทีละ 1.29 บาทตามเดิม MBA’7 RU.Phetchabun

  48. ซึ่งเชื่อว่าจะสามารถดึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย จากค่ายอื่นๆ ที่มีอัตราการใช้งานในช่วงเวลาดังกล่าวสูง หันมาใช้บริการซิมกันแดด SPF 29 สตางค์ ของดีแทคกันเพิ่มมากขึ้นเพราะซิมกันแดด SPF 29 สตางค์ของดีแทค สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ทำให้ลดค่าใช้จ่ายของลูกค้าที่มี ความจำเป็นจะต้อง ติดต่อสื่อสารกับบุคคลภายนอกเครือข่ายของดีแทคได้ และสามารถเชื่อมต่อกับทุกเครือข่าย ในชนบทได้เป็นเหตุผลและทางเลือกสำหรับลูกค้าได้เป็นอย่างดี MBA’7 RU.Phetchabun

  49. 12. ทางเลือกใหม่ของกลุ่ม ทางกลุ่มมีการนำเสนอความคิด การใช้กลยุทธ์การตลาดแบบ Micro Segmentation ของ Dtac ที่เน้นกลุ่มลูกค้าเป้าหมายเป็นผู้หญิงวัยทำงาน อายุระหว่าง 25-35 ปี ที่มีอัตราการใช้งานโทรศัพท์ช่วงกลางวันสูง โดยเสนอให้เปลี่ยนกลุ่มเป้าหมายเป็น “กลุ่มนิสิตนักศึกษา” อายุระหว่าง 17-24 ปี โดยใช้ชื่อซิมว่า “ซิม Freshy Day Freshy Night” MBA’7 RU.Phetchabun

  50. รายละเอียดโปรโมชั่นของซิมใหม่นี้ คือ • โทรนาทีละ 25 สตางค์ ตั้งแต่ 6 โมงเช้าถึง 6 โมงเย็นทุก • เครือข่าย • - ส่วนนอกเวลาและนอกเครือข่าย โทรนาทีละ 1.25 บาท • - SMS ครั้งละ 1.25 บาท อินเตอร์เน็ตนาทีละ 75 สตางค์ MBA’7 RU.Phetchabun

More Related