530 likes | 1.33k Views
สถิติ. เรื่อง การสร้างตารางแจกแจงความถี่. วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค33101. การสร้างตารางแจกแจงความถี่. การแจกแจงความถี่มี 2 วิธี 1. โดยวิธี เรียงลำดับค่าของข้อมูล เหมาะสำหรับข้อมูลที่ จำนวนไม่มากนัก และมีข้อมูลซ้ำกันอยู่
E N D
สถิติ เรื่อง การสร้างตารางแจกแจงความถี่ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานค33101
การสร้างตารางแจกแจงความถี่การสร้างตารางแจกแจงความถี่ การแจกแจงความถี่มี 2 วิธี 1. โดยวิธีเรียงลำดับค่าของข้อมูล เหมาะสำหรับข้อมูลที่ จำนวนไม่มากนัก และมีข้อมูลซ้ำกันอยู่ 2. โดยวิธีการแจกแจงความถี่ของข้อมูลเป็นช่วงข้อมูล เหมาะสำหรับ ข้อมูลที่มีจำนวนมาก
ตารางแจกแจงความถี่แบบเรียงลำดับตารางแจกแจงความถี่แบบเรียงลำดับ ตารางแจกแจงความถี่แบบช่วงข้อมูล คะแนน จำนวนนักเรียน(คน) คะแนน จำนวนนักเรียน(คน) 12 13 14 15 16 9 15 8 2 4 12 - 16 17 - 21 22 - 26 27 - 31 32 - 36 2 5 12 4 1 ช่องข้อมูล มีข้อมูลอันตรภาคชั้นละหลายจำนวน ช่องข้อมูล มีอันตรภาคชั้นละหนึ่งจำนวน
1.โดยวิธีเรียงลำดับค่าของข้อมูล เหมาะสำหรับข้อมูลที่มี จำนวนไม่มากนัก และมีข้อมูลซ้ำกันอยู่ (คล้ายกับตารางแจกแจงความถี่ที่มีความกว้างอันตรภาคชั้นเป็น 1)จัดเรียงได้ 2 แนว ตารางแจกแจงความถี่ 1.1 จัดเรียงจากน้อยไปหามาก 1.2 จัดเรียงจากมากไปหาน้อย
ตารางแจกแจงความถี่ แบบเรียงลำดับค่าข้อมูล ตัวอย่าง จงสร้างตารางแจกแจงความถี่แบบเรียงลำดับ เรียงจากน้อยไปมาก ของอายุของทหาร 30 คนดังนี้ 22 21 21 23 21 21 20 21 20 21 21 23 21 21 20 22 21 20 22 21 21 20 21 24 21 21 20 21 21 20
22 21 21 23 21 21 20 21 20 21 21 23 21 21 20 22 21 20 22 21 21 20 21 24 21 21 20 21 21 20 ตัวอย่าง ตารางแจกแจงความถี่ แบบเรียงลำดับค่าข้อมูล ตารางแจกแจงความถี่อายุของทหาร จำนวน 30 คน ดังนี้ อายุ (ปี) จำนวนทหาร(คน) ช่องของความถี่ มีความถี่ ของแต่ละอันตรภาคชั้น ได้ 5 ชั้น ช่องข้อมูล แบ่งออกเป็น อันตรภาคชั้น มี 5 ชั้น 20 21 22 23 24 7 17 3 2 1
ตัวอย่างที่ 1 จากคะแนนการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของ ม. 2/6 มีจำนวน 40 คน ได้คะแนน 23 26 24 24 24 23 25 26 24 25 24 23 22 23 24 26 25 23 22 23 25 24 24 25 23 25 23 26 24 26 25 22 22 23 26 24 24 25 22 24 ให้สร้างตารางแจกแจงความถี่ แบบเรียงลำดับค่าของข้อมูล โดยเรียงจากน้อยไปมาก แนวคิด การสร้างตาราง โดยวิธีเรียงลำดับค่า จัดเรียงจากน้อยไปหามากได้ดังนี้
23 26 24 24 24 23 25 26 24 25 24 23 2223 24 26 25 23 22 23 25 24 24 25 23 25 23 26 24 26 25 22 22 23 2624 24 25 22 24 นำค่าน้อยที่สุดเริ่มเขียนเป็นจำนวนแรก จากข้อมูลต้องหา คะแนน 22 23 24 25 26 ค่าน้อยที่สุด เป็น 22 เขียนถึง 26 พอแล้ว ค่ามากที่สุด เป็น 26
การนับจำนวนข้อมูลลงในตารางการนับจำนวนข้อมูลลงในตาราง 23 26 24 24 24 23 25 26 24 25 24 23 22 23 24 26 25 23 22 23 25 24 24 25 23 25 23 26 24 26 25 22 22 23 26 24 24 25 22 24 รวมรอยขีด แต่ละชั้น คะแนน รอยขีด ความถี่ 22 23 24 25 26 | | | | 5 รวมรอยขีด แต่ละชั้น | | | | | | | | 9 รวมรอยขีด แต่ละชั้น | | | | | | | | | | 12 | | | | | | | 8 รวมรอยขีด แต่ละชั้น | | | | | 6 รวมรอยขีด แต่ละชั้น 40 รวมช่องความถี่ทั้งหมด
ตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนการสอบวิชาคณิตศาสตร์ตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนการสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของ ม. 2/6 มีจำนวน 40 คน ได้คะแนน จำนวนนักเรียน(คน) รอยขีด คะแนน 5 9 12 8 6 //// //// //// //// //// // //// /// //// / 22 23 24 25 26 40
สรุป การสร้างตารางแจกแจงความถี่ โดยวิธีเรียงลำดับ ได้ดังนี้ คะแนน จำนวนนักเรียน(คน) 22 23 24 25 26 5 9 12 8 6 40 การสร้าง ขั้นที่ 1 สร้างช่องของ ข้อมูลในช่องแรกก่อน ตัวอย่างนี้ เป็นคะแนน ขั้นที่ 2 สร้างช่องที่ 2 รอยขีด รวมรอยขีดแต่ละชั้นเป็นความถี่แต่ละ อันตรภาคชั้นเป็นช่องที่ 3 ตัวอย่างนี้เป็น จำนวนนักเรียน รวมช่องความถี่ทั้งหมดลงมา เป็น จำนวนข้อมูล ตัวอย่างนี้ เท่ากับ 40 (เมื่อนำเสนอข้อมูลเราจะเป็นช่องข้อมูลและช่องความถี่)
พิสัย คือค่าความแตกต่างระหว่างค่าสูงสุดของข้อมูลดิบและ ค่าต่ำสุดของข้อมูลดิบ พิสัย = ค่าสูงสุดของข้อมูล – ค่าต่ำสุดของข้อมูล หรือพิสัย = ข้อมูลสูงสุด – ข้อมูลต่ำสุด
ตัวอย่างที่ 1 จากคะแนนการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของ ม. 2/6 มีจำนวน 40 คน ได้คะแนน 23 26 24 24 24 23 25 26 24 25 24 23 2223 24 26 25 23 22 23 25 24 24 25 23 25 23 26 24 26 25 22 22 23 2624 24 25 22 24 จงหาพิสัยของคะแนน พิสัย = ค่าสูงสุดของข้อมูล – ค่าต่ำสุดของข้อมูล พิสัย = 26 – 22 = 4
2. การสร้างตารางแจกแจงความถี่โดยวิธีการแจกแจงความถี่ของข้อมูล (การจัดเป็นช่วงข้อมูล) เหมาะสำหรับ ข้อมูลที่มีจำนวนมาก จัดเรียงได้ 2 แนว 2.1 จัดเรียงจากน้อยไปหามาก 2.2 จัดเรียงจากมากไปหาน้อย
โครงร่างตารางแจกแจงความถี่ ที่เป็นช่วงข้อมูล กรณีเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก ช่วงข้อมูล ความถี่ ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุด- ค่ามากที่สุดของชั้นต่ำสุด ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้น- ค่ามากที่สุดของชั้นที่สอง ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้น -ค่ามากที่สุดของชั้นที่สาม . ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นสูงสุด - ค่ามากที่สุดของชั้นสูงสุด ความถี่ของชั้นต่ำสุด ความถี่ของชั้นที่สอง ความถี่ของชั้นที่สาม . ความถี่ของชั้นสูงสุด
บางตำราใช้ เรียกค่าน้อยที่สุดของชั้น เป็นค่าต่ำสุดของชั้น เรียกค่ามากที่สุดของชั้นเป็นค่าสูงสุดของชั้น โครงร่างตารางแจกแจงความถี่ ที่เป็นช่วงข้อมูล กรณีเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก ช่วงข้อมูล ความถี่ ค่าต่ำสุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุด- ค่าสูงสุดของชั้นต่ำสุด ค่าต่ำสุดของอันตรภาคชั้น- ค่าสูงสุดของชั้นที่สอง ค่าต่ำสุดของอันตรภาคชั้น -ค่าสูงสุดของชั้นที่สาม . ค่าต่ำสุดของอันตรภาคชั้นสูงสุด - ค่าสูงสุดของชั้นสูงสุด ความถี่ของชั้นต่ำสุด ความถี่ของชั้นที่สอง ความถี่ของชั้นที่สาม . ความถี่ของชั้นสูงสุด
ตัวอย่างตารางแจกแจงความถี่แบบช่วงข้อมูลตัวอย่างตารางแจกแจงความถี่แบบช่วงข้อมูล ตารางแจกแจงความถี่ของน้ำหนักทหาร จำนวน 30 คน ดังนี้ น้ำหนัก(ก.ก.) จำนวนทหาร(คน) ช่องของความถี่ มีความถี่ ของแต่ละอันตรภาคชั้น ได้ 5 ชั้น 72 – 74 75 – 77 78 – 80 81 – 83 84 – 86 3 5 7 10 5 ช่องข้อมูล แบ่งออกเป็น อันตรภาคชั้น มี 5 ชั้น
การเขียนช่องข้อมูลแบบช่วงข้อมูลการเขียนช่องข้อมูลแบบช่วงข้อมูล ตัวอย่าง 1.1 กรณีจากน้อยไปมาก มีความกว้างอันตรภาคชั้น เป็น 4 จำนวนอันตรภาคชั้น 3 ชั้น ใช้ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุดเป็น 5 ค่ามากที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุด หาได้จากจำนวนเรียงต่อกันที่น้อยกว่า ค่าน้อยสุดของชั้นที่สอง จึงได้เป็น 8 เริ่มตรงนี้ “ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุด” ข้อนี้ใช้ 5 ข้อมูล 5 - 8 ตัวต่อมานำค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคของชั้นต่ำกว่า บวกด้วย ค่าความกว้างอันตรภาคชั้นจึงนำ 5 + 4 ได้ 9 9 - 12 8 + ความกว้างอันตรภาคชั้น คือ 8 + 4 ได้ 12 13 - 16 ค่าสูงสุดของอันตรภาคชั้นสูงสุด 12 + ความกว้างอันตรภาคชั้นคือ 12 + 4 ได้ 16 9 + 4 ได้ 13
การเขียนช่องข้อมูลแบบช่วงข้อมูลการเขียนช่องข้อมูลแบบช่วงข้อมูล ตัวอย่าง1.2 กรณีจากน้อยไปมากมีความกว้างอันตรภาคชั้น เป็น 6 จำนวนอันตรภาคชั้น 3 ชั้น ใช้ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุดเป็น 10 ค่ามากที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุดเป็นจำนวนเรียงต่อกันที่น้อยกว่า ค่าน้อยสุดของชั้นที่สอง จึงได้เป็น 15 เริ่มตรงนี้ “ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุด” ข้อนี้ใช้ 10 ข้อมูล 10 - 15 นำค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคของชั้นต่ำกว่า บวกด้วย ค่าความกว้างอันตรภาคชั้นจึงนำ คือ10 + 6 ได้ 16 16 - 21 15 + ความกว้างอันตรภาคชั้น คือ 15 + 6 ได้ 21 22 - 27 ค่าสูงสุดของอันตรภาคชั้นสูงสุด 21 + ความกว้างอันตรภาคชั้นคือ 21+ 6ได้ 27 16 + 6 ได้ 13
การเขียนช่องข้อมูลแบบช่วงข้อมูลการเขียนช่องข้อมูลแบบช่วงข้อมูล ตัวอย่าง 1.3 ให้เขียนช่องข้อมูล กรณีจากน้อยไปมากมีความกว้างอันตรภาคชั้น เป็น 5 จำนวนอันตรภาคชั้น 4 ชั้น ใช้ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุดเป็น 8 ตรงนี้ ในอันตรภาคชั้นที่สอง เป็นจำนวนเท่าไร ใช้ 8 เป็นค่าที่น้อย ที่สุดของ อันตรภาคชั้น ต่ำสุด หาได้จากอะไรคิดได้อย่างไร ตรงนี้ของ อันตรภาคชั้นต่ำสุด เป็นจำนวนเท่าไร ข้อมูล หาได้ จากอะไร คิดได้อย่างไร เริ่มที่จำนวนนี้ 8 - 12 13 - 17 18 - 22 หาจำนวนที่เป็นค่ามากสุดของแต่ชั้นต่อ ๆ ไป หาจำนวน ที่เป็นค่าน้อยสุด ของชั้นต่อ ๆ ไป 23 - 27
ตัวอย่างที่ 2 จากคะแนนการสอบวิชาภาษาไทยของ ม. 2/6 จำนวน 50 คน ได้คะแนน 64 42 85 62 90 53 87 76 59 66 70 93 68 84 75 48 61 54 62 73 81 77 60 78 56 98 75 62 86 65 58 63 79 45 80 50 67 71 64 82 69 76 52 94 65 74 83 87 75 54 จงสร้างตารางแจกแจงความถี่เรียงจากน้อยไปมาก มีจำนวนอันตรภาคชั้นเท่ากับ 6 ชั้น แนวคิด ต้องสร้างตารางแจกแจงความถี่แบบเป็นช่วงข้อมูลโดยจัดเรียงจากน้อยไปหามาก ให้มีจำนวนอันตรภาคชั้น 6 ชั้น ได้ดังนี้
64 42 85 62 90 53 87 76 59 66 70 93 68 84 75 48 61 54 62 73 81 77 60 78 56 98 75 62 86 65 58 63 79 45 80 50 67 71 64 82 69 76 52 94 65 74 83 87 75 54 วิธีทำ จากข้อมูลต้องหา ข้อมูลมีค่าสูงสุด เป็น 98 ข้อมูลที่ค่าต่ำสุด เป็น 42 พิสัย = ข้อมูลสูงสุด – ข้อมูลต่ำสุด จะได้ พิสัย = 98 – 42 =56
พิสัย _________________ ความกว้างของอันตรภาคชั้น = จำนวนอันตรภาคชั้น 56 = 6 9.33 ปัดเศษ(ถ้าหารลงตัวให้บวกอีก 1) = = 10 ได้ ความกว้างของอันตรภาคชั้นเท่ากับ 10 จากข้อมูลต่ำสุด 42 ให้เป็นค่าที่น้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุด
การเขียนช่องข้อมูลแบบช่วงการเขียนช่องข้อมูลแบบช่วง ค่ามากที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุดเป็นจำนวนเรียงที่น้อยกว่า ค่าน้อยสุดของชั้นสูงกว่า ได้ 51 ช่องข้อมูล 42 - 51 เริ่มตรงนี้ “ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุด” ข้อนี้ใช้ค่าต่ำสุดของข้อมูลดิบ เป็น 42 52 - 61 62 - 71 ตัวต่อมานำค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคของชั้นต่ำกว่า บวกด้วย ค่าความกว้างอันตรภาคชั้น จึงนำ 42 + 10 ได้ 52 72 - 81 82 - 91 52+10ได้ 62 - 92 101 51 + ความกว้างอันตรภาคชั้นคือ51+10ได้61 62+10 ได้ 72 72 + 10 ได้ 82 ค่าสูงสุดของอันตรภาคชั้นสูงสุด 91 + ความกว้างอันตรภาคชั้นคือ 91+10 ได้ 101 82+10 ได้ 92
การนับจำนวนข้อมูล ลงในตาราง 64 42 85 62 90 53 87 76 59 66 70 93 68 84 75 48 61 54 62 73 81 77 60 78 56 98 75 62 86 65 58 63 79 45 80 50 67 71 64 82 69 76 52 94 65 74 83 87 75 54 รวมรอยขีด ชั้น 42 - 51 คะแนน รอยขีด ความถี่ รวมรอยขีด ชั้น 52 - 61 42 - 51 52 - 61 62 - 71 72 - 81 82 - 91 92 - 101 | | | | 4 9 | | | | | | | | | รวมรอยขีด ชั้น 62 - 71 14 | | | | | | | | | | | | | | รวมรอยขีด ชั้น 72 - 81 12 | | | | | | | | | | | | รวมรอยขีด ชั้น 82 - 91 8 | | | | | | | | รวมรอยขีด ชั้น 92 - 101 3 | | |
ตารางแจกแจงความถี่คะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน ม. 2/6 ดังนี้ คะแนน รอยขีด จำนวนนักเรียน (คน) 42 - 51 52 - 61 62 - 71 72 - 81 82 - 91 92 - 101 |||| |||| |||| |||| |||| |||| |||| |||| || |||| ||| ||| 4 9 14 12 8 3 50
สรุป การสร้างตารางแจกแจงความถี่แบบเป็นช่วงข้อมูล คะแนน จำนวนนักเรียน (คน) 42 - 51 52 - 61 62 - 71 72 - 81 82 - 91 92 - 101 4 9 14 12 8 3 50 การสร้าง ขั้นที่ 1 สร้างช่องของ ข้อมูลแบบช่วงข้อมูลในช่องแรกก่อน ตัวอย่างนี้ เป็นคะแนน ขั้นที่ 2 สร้างช่องที่ 2 เป็นช่องของรอยขีด แล้วรวมรอยขีดแต่ละชั้นเป็นช่องที่ 3 คือช่องของ ความถี่ ตัวอย่างนี้เป็น จำนวนนักเรียน รวมช่องความถี่ทั้งหมดลงมาได้ 50
โครงร่างตารางแจกแจงความถี่ ที่เป็นช่วงข้อมูล กรณีเรียงข้อมูลจากมากไปน้อย ช่วงข้อมูล ความถี่ ความถี่ของชั้นสูงสุด ความถี่ของชั้น ความถี่ของชั้น ความถี่ของชั้นต่ำสุด ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นสูงสุด- ค่ามากที่สุดของชั้นสูงสุด ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้น - ค่ามากที่สุดของชั้น ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้น - ค่ามากที่สุดของชั้น ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุด - ค่ามากที่สุดของชั้นต่ำสุด
การเขียนช่องข้อมูลแบบช่วงข้อมูลการเขียนช่องข้อมูลแบบช่วงข้อมูล ตัวอย่าง2.1 กรณีจากมากไปน้อย มีความกว้างอันตรภาคชั้น เป็น 4 จำนวนอันตรภาคชั้น 3 ชั้น ใช้ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุดเป็น 5 9 + 4 ได้ 13 ค่าสูงสุดของอันตรภาคชั้นสูงสุด12 + ความกว้างอันตรภาคชั้นคือ คือ 12 + 4 ได้ 16 ข้อมูล ตัวต่อมานำค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคของชั้นต่ำกว่า บวกด้วย ค่าความกว้างอันตรภาคชั้นจึงนำ 5 + 4 ได้ 9 13 - 16 8 + ความกว้างอันตรภาคชั้น 4 คือ 8 + 4 ได้12 9 - 12 ค่ามากที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุดเป็นจำนวนเรียงต่อที่น้อยกว่า ค่าน้อยสุดของชั้นสูงกว่า ได้ 8 เริ่มตรงนี้ “ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุด” ข้อนี้ใช้ 5 5 - 8
ตัวอย่างที่ 2 จากคะแนนการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของ ม. 2/6 มีจำนวน 50 คน ได้คะแนน 65 80 57 73 63 88 62 76 74 54 61 65 86 74 72 62 78 90 63 72 78 96 61 89 95 75 60 79 85 71 84 68 75 82 91 68 61 89 93 75 73 79 87 77 92 60 58 70 82 75 ให้สร้างตาราง แจกแจงความถี่ที่เรียงจากมากไปน้อย มีจำนวน อันตรภาคชั้นเท่ากับ 5 ชั้น แนวคิด ต้องสร้างตารางแจกแจงความถี่แบบเป็นช่วงข้อมูลโดยจัดเรียงจากมากไปหาน้อย ให้มีจำนวนอันตรภาคชั้น 5 ชั้น ได้ดังนี้
65 80 57 73 63 88 62 76 74 54 61 65 86 74 72 62 78 90 63 72 78 96 61 89 95 75 60 79 85 71 84 68 75 82 91 68 61 89 93 75 73 79 87 77 92 60 58 70 82 75 จากข้อมูลต้องหา ข้อมูลมีค่าสูงสุด เป็น 96 ข้อมูลที่ค่าต่ำสุด เป็น 54 พิสัย = ข้อมูลสูงสุด – ข้อมูลต่ำสุด จะได้ พิสัย = 96 – 54 = 42
พิสัย _________________ ความกว้างของอันตรภาคชั้น = จำนวนอันตรภาคชั้น 42 = 5 = 8.4 ปัดเศษ(ถ้าหารลงตัวให้บวกอีก 1) = 9 ได้ ความกว้างของอันตรภาคชั้นเท่ากับ 9 จากข้อมูลต่ำสุด 54 ให้เป็นค่าที่น้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุด
การเขียนช่องข้อมูลแบบช่วงการเขียนช่องข้อมูลแบบช่วง ค่าสูงสุดของอันตรภาคชั้นสูงสุด 89 + ความกว้างอันตรภาคชั้นคือ 89+9 ได้ 98 ช่องข้อมูล 81 + 9 ได้ 90 90 - 98 72+ 9 ได้ 81 81 - 89 80+9 ได้ 89 63+9 ได้ 72 - 72 80 71+ 9ได้ 80 - ตัวต่อมานำค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคของชั้นต่ำกว่า บวกด้วย ค่าความกว้างอันตรภาคชั้น จึงนำ 54 + 9 ได้ 63 63 71 62+ ความกว้างอันตรภาคชั้นคือ62+9ได้71 - 54 62 ค่ามากที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุดเป็นจำนวนเรียงที่น้อยกว่า ค่าน้อยสุดของชั้นสูงกว่า ได้ 62 เริ่มตรงนี้ “ค่าน้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นต่ำสุด”ข้อนี้ใช้ค่าต่ำสุดของข้อมูลดิบ เป็น 54
การนับความถี่ของข้อมูล 65 80 57 73 63 88 62 76 74 54 61 65 86 74 72 62 78 90 63 72 78 96 61 89 95 75 60 79 85 71 84 68 75 82 91 68 61 89 93 75 73 79 87 77 92 60 58 70 82 75 คะแนน รอยขีด จำนวนนักเรียน (คน) | 90 - 98 81 - 89 72 - 80 63 - 71 54 - 62 | | | | | 6 9 | | | | | | | | | 17 | | | | | | | | | | | | | | | | | 8 | | | | | | | | 10 | | | | | | | | | |
ตารางแจกแจงความถี่คะแนนสอบคณิตศาสตร์ของนักเรียน ม. 2/6 ดังนี้ คะแนน รอยขีด จำนวนนักเรียน (คน) 90 - 98 81 - 89 72 - 80 63 - 71 54 - 62 |||| | |||| |||| |||| |||| |||| || |||| ||| |||| |||| 6 9 17 8 10 50
สรุป การสร้างตางแจกแจงความถี่แบบช่วงข้อมูล เรียงจากมากไปหาน้อย คะแนน จำนวนนักเรียน (คน) 90 - 98 81 - 89 72 - 80 63 - 71 54 - 62 6 9 17 8 10 เริ่ม 50 ช่องข้อมูลใช้แนวเดียวกับการสร้างตารางที่เรียงจากน้อยไปหามากโดยจากอันตรภาคชั้นล่างสุดก่อนนั่นเอง แล้วเขียนย้อนขึ้นไป ช่องความถี่นับเหมือนกัน (มีรอยขีดนับ) รวมแต่ละชั้นแล้ว จึงรวมทั้งหมด
นายวานิตย์ นุชดารา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนชุมแสงชนูทิศ ตำบลพิกุล อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ 60120