E N D
ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเพชรบูรณ์ มีพื้นที่ประมาณ 12,๖๖9 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 11 อำเภอ 117 ตำบล 1,430 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด 991,252 คน ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่ราบสลับกันไป พื้นที่ราบลุ่มเหมาะสำหรับการเกษตร มีแม่น้ำป่าสักเป็นแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านจังหวัดจากทิศเหนือจรดทางทิศใต้ ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดประกอบอาชีพเกษตรกรรม วิสัยทัศน์ ดินแดนแห่งความสุขของคนอยู่และผู้มาเยือน “จังหวัดเพชรบูรณ์จะมุ่งส่งเสริมการเกษตรปลอดภัย ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ใช้ศักยภาพทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่เป็นจุดเด่น พร้อมกับการพัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมอย่างยั่งยืน เพื่อให้ไปสู่การเป็นเมืองแห่งความสุขของคนอยู่และผู้มาเยือน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.การส่งเสริมเกษตรปลอดภัย การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทางการเกษตร2. พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวทั้งเชิงธรรมชาติและเชิงวัฒนธรรม3. ส่งเสริมคุณภาพชีวิต สร้างความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยของชุมชนและสังคม4. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 5. เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและการบริหารจัดการด้านเศรษฐกิจ
วิสัยทัศน์ จังหวัดเพชรบูรณ์ “ดินแดนแห่งความสุข ของคนอยู่และผู้มาเยือน” โดย..จังหวัดเพชรบูรณ์ จะมุ่งส่งเสริมการเกษตรปลอดภัย ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ใช้ศักยภาพทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่เป็นจุดเด่นพร้อมกับการพัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมอย่างยั่งยืน “วิสัยทัศน์” ตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง” • นโยบายรัฐบาล • นโยบายเร่งด่วน 16 ข้อ • ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 8 ข้อ • ยุทธศาสตร์ประเทศ 4 ประเด็น 1.ประชาชนดำรงชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐาน ดัชนีความสุขมวลรวมสูงขึ้น ๒.ผลผลิตด้านการเกษตรได้รับการปรับเปลี่ยนและพัฒนาเป็นเกษตรปลอดภัย ๓.การท่องเที่ยวของจังหวัดได้รับการพัฒนาและสร้างความเชื่อมโยงภายในกลุ่มจังหวัดอย่างยั่งยืน ๔.ประชาชนได้รับประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเท่าเทียมกัน ๕.มีความพร้อมในการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ๒.พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว ทั้งเชิงธรรมชาติและเชิงวัฒนธรรม กลยุทธ์ ๔ กลยุทธ์ ๒.๑ พัฒนาระบบบริหารจัดการและปัจจัยพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน ๒.๒ สร้าง ฟื้นฟู พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและความหลากหลายทางวัฒนธรรมเพื่อใช้เป็นจุดขายของการท่องเที่ยว ๒.๓ พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ๒.๔ ส่งเสริมประชาสัมพันธ์และการตลาดเชิงรุก สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวจากทุกภาคส่วนทั้งในและต่างประเทศ ๑. การส่งเสริมเกษตรปลอดภัยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่า กลยุทธ์๕ กลยุทธ์ ๑.๑ ส่งเสริม/พัฒนากระบวนการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ๑.๒ พัฒนาแหล่งน้ำ/โครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเกษตร ๑.๓ ส่งเสริม/พัฒนาภาคอุตสาหกรรมการเกษตรและการแปรรูปสินค้าเกษตรปลอดภัย ๑.๔ ส่งเสริม/เพิ่มช่องทางการตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย ๑.๕ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา(R&D) การบริหารจัดการองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ ๓.ส่งเสริมคุณภาพชีวิตสร้างความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย กลยุทธ์ ๓ กลยุทธ์ ๓.๑ พัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิต การศึกษา การสาธารณสุขและการบริการประชาชน ๓.๒ เสริมสร้างหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองและยกระดับการพัฒนาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๓ เสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ๔.การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน กลยุทธ์ ๓ กลยุทธ์ ๔.๑ การเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการ อนักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๔.๒ การเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติ ๔.๓ การจัดการองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ๕.เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์ ๔ กลยุทธ์ ๕.๑ พัฒนาขีดความสามารถยกระดับการบริหารจัดการการตลาด ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้ประกอบการและธุรกิจ ๕.๒ พัฒนาโลจิสติกส์การค้าให้มีประสิทธิภาพ ๕.๓ พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรและยกระดับมาตรฐานสินค้า ๕.๔ พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางบนพื้นฐานหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี