1.07k likes | 1.89k Views
บทที่ 1 การ ประเมินโครงการ (Project Evaluation). การ ประเมินผลคือ อะไร. เป็นการวัดหรือกำหนด คุณภาพ (Merit or Quality ) เช่น การศึกษา คุณค่า ( Worth or Value ) เช่น การสงเคราะห์ผู้สูงอายุ ความสำคัญ (Significance or Importance ) เช่นนโยบายแก้ไขความยากจน
E N D
บทที่ 1การประเมินโครงการ(Project Evaluation) project evaluation
การประเมินผลคืออะไร • เป็นการวัดหรือกำหนด • คุณภาพ (Merit or Quality) เช่น การศึกษา • คุณค่า ( Worth or Value) เช่น การสงเคราะห์ผู้สูงอายุ • ความสำคัญ (Significance or Importance) เช่นนโยบายแก้ไขความยากจน • การประเมินโครงการเป็นรูปแบบหนึ่งของการประเมินผล • ทั้งสองรูปแบบประเมินแตกต่างที่วัตถุประสงค์การประเมินและการนำผลที่ได้รับจากการประเมินไปใช้ project evaluation
ความรู้ทั่วไปของการประเมินโครงการความรู้ทั่วไปของการประเมินโครงการ • ความหมายของการประเมินโครงการ • การวัดผล (measurement) ผลการดำเนินโครงการอย่างเป็นระบบและมีเป้าหมายการวัดผลที่ชัดเจน • สามารถวัดผลได้ทั้งระดับ • การออกแบบ (design) • ระหว่างดำเนินโครงการ (implementation) • ผลที่ได้รับจากการดำเนินโครงการหรือหลังโครงการสิ้นสุด (results) • เกี่ยวข้องกับการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การแปลผล และการรายงานผล • ข้อมูลที่ใช้ต้องมีความน่าเชื่อถือ • ผลที่ได้รับจากการประเมินมุ่งเพื่อนำไปสู่การพัฒนาโครงการให้มีประสิทธิภาพเพิ่มสูงขึ้น project evaluation
ประเภทของการประเมิน (Evaluation) • Project evaluation • Product evaluation • Program evaluation • Policy evaluation • Process evaluation • Performance evaluation project evaluation
บทบาทของการประเมินโครงการ (Role of Project Evaluation) • มีความสำคัญในการช่วยตัดสินใจโครงการสาธารณะที่มีผลต่อประชาชน • สามารถใช้จำแนกผลที่เป็นระดับโครงการ (project) หรือระดับแผนงาน (program) • การสร้างฝายเก็บน้ำ ช่วยเก็บกักน้ำให้ชาวบ้านในพื้นที่ แต่อาจไม่สนับสนุนการป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ระดับจังหวัดที่ไม่เห็นความสำคัญของดครงการสร้างฝาย • ผู้รับผลกระทบจากเขื่อนป้องกันน้ำท่วมอาจเป็นส่วนน้อยที่ไม่มีโอกาสสะท้อนปัญหาของตนเองต่อส่วนร่วม และการตัดสินใจ • ตัวอย่างโครงการมูลค่า 100ล้านบาทที่มีผลประโยชน์เกิดขึ้นทั้งหมด50 ล้านบาท โดยผู้รับประโยชน์ร่วมรับภาระเพียงร้อยละ 5 ของต้นทุนทั้งหมด แต่สังคมรวมรับภาระที่เหลือทั้งหมด คำถาม โครงการนี้สมควรดำเนินการหรือไม่? ผู้รับประโยชน์ควรดำเนินการอย่างไร เพื่อให้เกิดการลงทุนจริง project evaluation
บทบาทของการประเมินโครงการ (Role of Project Evaluation) • จากตัวอย่าง หากต้นทุนของผู้รับประโยชน์เพิ่มเป็นร้อยละ 25สังคมรวมรับภาระที่เหลือทั้งหมด คำถาม โครงการนี้ยังสมควรลงทุนดำเนินการหรือไม่? เพราะเหตุผลใด project evaluation
บทบาทของการประเมินโครงการ (Role of Project Evaluation) • หากเป็นโครงการที่กำหนดโดยฝ่ายการเมือง ที่มักเห็นความสำคัญของโครงการตนเองเป็นหลัก • One tablet per student • One scholarship per district etc. • คำถาม การประเมินผลช่วยการตัดสินใจภายใต้เงื่อนไขนี้ได้อย่างไร project evaluation
ประเภทโครงการสาธารณะ project evaluation
วัตถุประสงค์การประเมินวัตถุประสงค์การประเมิน • เพื่อเป็นการเรียนรู้ และพัฒนาโครงการ • สร้างความรับผิดรับชอบของผู้ดำเนินโครงการ • เพื่อให้ได้รับข้อมูลตอบกลับจากผู้มีส่วนได้เสีย • เจ้าของโครงการ • ผู้เป็นเจ้าของทุน • ผู้รับผลประโยชน์ • ผู้รับผลกระทบด้านลบ • ผู้บริหารโครงการ • ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ project evaluation
รูปแบบการประเมินโครงการรูปแบบการประเมินโครงการ Objective Based Modelมุ่งให้ความสนใจเปรียบเทียบผลที่ได้รับกับวัตถุประสงค์นักวิชาการในกลุ่มนี้ได้แก่Tyler และ Cronbach Judgmental Evaluation Modelมุ่งให้ความสนใจกับการตัดสินคุณค่าของสิ่งที่ถูกประเมินนักวิชาการในกลุ่มนี้ได้แก่Stake และ Provus Decision-oriented Evaluation Modelนี้มุ่งผลิตข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจนักวิชาการในกลุ่มนี้ได้แก่Stufflebeamและ Alkin 1. Tyler, Ralph W. Basic Principles of Curriculum and Instruction, The University of Chicago, 1959 2. Stufflebeam, D.L. and others, Educational Evaluation and Decision making, Illinois: F.E. Peacock, Publishers, 1971 3. Worthen, B. and Sanders, J.R. Educational Evaluation: Theory and Practice, Belmont. California: Wadworth Publishing, 1973 project evaluation
การประเมินผลรูปแบบ Tyler • เป็นรูปแบบการประเมินผลที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการประเมินผลด้านการศึกษาเป็นสำคัญ • มักถูกกล่าวขานว่าเป็นการประเมินผลตามรูปแบบของวัตถุประสงค์ (objective model) เนื่องจากมีการกำหนดกรอบวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย (goals) ที่จะทำการประเมินผล ที่อาจไม่ให้ความสำสำคัญกับกระบวนการ (process) • มีการเน้นเป้าหมายการประเมินตามวัตถุประสงค์ และผลลัพธ์ (outcomes) ที่ได้รับจากการดำเนินการกิจกรรม project evaluation
ข้อจำกัดของ Tyler Model • มักมีการตีความหมายของวัตถุประสงค์ที่จำกัด โดยอาจยอมรับการตีความที่เป็นเชิงพรรณนา • มีข้อจำกัดในการทำการประเมินที่มีความยุ่งยาก และใช้เวลามากในการกำหนดพฤติกรรมการประเมินผล • ไม่อาจใช้เป็นรูปแบบการประเมินที่สะท้อนความสามารถระดับบุคคล project evaluation
รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) สตัฟเฟิลบีมได้พัฒนารูปแบบการประเมินนี้ขึ้นในปีค.ศ. 1971 โดยมีแนวคิดในการสร้างสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจแบ่งการประเมินออกเป็น 4 ประเด็นตามประเภทของการตัดสินใจและการนำไปใช้ประโยชน์ดังนี้การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้อม(Context Evaluation) การประเมินปัจจัยเบื้องต้น(Input Evaluation) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation) project evaluation
รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation) เป็นการประเมินก่อนที่จะลงมือดำเนินการในโครงการใดๆเพื่อนำข้อมูลไปกำหนดหลักการและเหตุผลรวมทั้งพิจารณาความจำเป็นที่จะต้องจัดทำโครงการดังกล่าวการชี้ประเด็นปัญหาตลอดจนพิจารณาความเหมาะสมของโครงการ project evaluation
รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) การประเมินปัจจัยเบื้องต้น(Input Evaluation) เป็นการพิจารณาความเหมาะสมความพอเพียงของทรัพยากรในการดำเนินโครงการตลอดจนเทคโนโลยีและแผนของการดำเนินงาน project evaluation
รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อหาข้อบกพร่องของการดำเนินโครงการหาข้อมูลประกอบการตัดสินใจที่จะสั่งการเพื่อพัฒนางานต่างๆและบันทึกภาวะของเหตุการณ์ต่างๆรายงานความก้าวหน้าของโครงการ project evaluation
รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นจากการทำโครงการกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนดไว้แต่ต้นเพื่อนำข้อมูลไปใช้ตัดสินการบรรลุความสำเร็จของโครงการ project evaluation
การประเมินรูปแบบซิปนั้นเป็นการประเมินเพื่อให้ได้ข้อมูลในด้านต่างๆสำหรับประกอบการตัดสินใจคือการประเมินด้านสภาวะแวดล้อมเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการวางแผนประเมินปัจจัยเบื้องต้นเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกำหนดโครงสร้างโครงการประเมินกระบวนการเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการนำโครงการไปปฏิบัติและประเมินผลลัพธ์เพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจว่าควรดำเนินการโครงการต่อไปหรือล้มเลิกซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินกับการตัดสินใจดังกล่าวการประเมินรูปแบบซิปนั้นเป็นการประเมินเพื่อให้ได้ข้อมูลในด้านต่างๆสำหรับประกอบการตัดสินใจคือการประเมินด้านสภาวะแวดล้อมเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการวางแผนประเมินปัจจัยเบื้องต้นเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกำหนดโครงสร้างโครงการประเมินกระบวนการเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการนำโครงการไปปฏิบัติและประเมินผลลัพธ์เพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจว่าควรดำเนินการโครงการต่อไปหรือล้มเลิกซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินกับการตัดสินใจดังกล่าว project evaluation
ภาพที่ 1 แสดงแผนภูมิประเภทการประเมินและการตัดสินใจในแบบจำลองซิป ประเภทของการประเมิน ประเภทของการตัดสินใจ ประเมินสภาวะแวดล้อม เพื่อการวางแผน เพื่อกำหนดโครงสร้าง ประเมินปัจจัยเบื้องต้น เพื่อนำโครงการไปปฏิบัติ ประเมินกระบวนการ เพื่อทบทวนโครงการ ประเมินผลผลิต project evaluation
การวิเคราะห์ระบบ ( System Approach) แนวคิดการวิเคราะห์ระบบเป็นการนำเอาระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาประยุกต์ใช้โดยทำการประเมินใน 3 ส่วนได้แก่ปัจจัยนำเข้ากระบวนการและผลผลิต project evaluation
การวิเคราะห์ระบบ ( System Approach) ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต project evaluation
การประเมินผลตามยุทธศาสตร์(Strategic Evaluation) project evaluation
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน project project project กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม การประเมินไม่ว่าระดับใด จำเป็นต้องเข้าใจวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย ของการประเมินว่าคืออะไร
ตัวอย่างลำดับชั้นการประเมินโครงการตัวอย่างลำดับชั้นการประเมินโครงการ แผนงานการแก้ไขความยากจน แจกเบี้ย พักชำระหนี้ ประกันราคาผลผลิต กำหนดเกณฑ์ หาผู้มีสิทธิ แจกเงิน กำหนดเกณฑ์ ตกลงกับ ธนาคาร ขึ้นทะเบียน ขึ้นทะเบียน หาที่จัดเก็บ รับจำนำ
ตัวอย่างลำดับชั้นการประเมินโครงการตัวอย่างลำดับชั้นการประเมินโครงการ การแก้ไขความยากจน ผลลัพธ์ แจกเบี้ย พักชำระหนี้ ประกันราคาผลผลิต ผลผลิต กำหนดเกณฑ์ หาผู้มีสิทธิ แจกเงิน กำหนดเกณฑ์ ตกลงกับ ธนาคาร ขึ้นทะเบียน ขึ้นทะเบียน หาที่จัดเก็บ รับจำนำ
รูปแบบการประเมินผลตามประเด็นยุทธศาสตร์รูปแบบการประเมินผลตามประเด็นยุทธศาสตร์ project evaluation
Balanced Scorecard (BSC) Robert S. Kaplan David Norton เป็นเครื่องมือวัดผลที่เชื่อมโยงกับกลยุทธ์องค์กรประกอบด้วย • ด้านการเงิน(Financial) ผลการดำเนินงานทางการเงินเป็นอย่างไรในสายตาของผู้ถือหุ้น • ด้านกระบวนการบริหารภายใน (Internal Business Process) องค์กรมีกระบวนการที่เป็นเลิศอะไรบ้าง • ด้านลูกค้า (Customer Perspective) ควรตอบสนองลูกค้าอย่างไร • ด้านการเรียนรู้และเติบโต (Learning and Growth)มีความสามารถที่จะเปลี่ยนและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน project evaluation
ความเชื่อมโยงของการวัดผลการดำเนินงานความเชื่อมโยงของการวัดผลการดำเนินงาน ด้านการเงิน ความสามารถในการทำกำไร ด้านลูกค้า ความพึงพอใจของผู้บริโภค ด้านกระบวนการบริหารภายใน คุณภาพสินค้าและบริการ ต้นทุนการผลิต ระบบการจัดการ คุณภาพวัตถุดิบ ประสิทธิภาพการผลิต ด้านการเรียนรู้และเติบโต การวิจัยและพัฒนา project evaluation
Obj KPI Target Initiative Finance Obj KPI Target Initiative Customer Obj KPI Target Initiative Business Process Vision Strategy Obj KPI Target Initiative Innovation project evaluation
ตัวอย่างการใช้ BSC ในบริษัท Pioneer Petroleum ประเทศสหรัฐอเมริกา คุณภาพในการเพิ่มรายได้ ด้านการเงิน • ผลตอบแทนการลงทุน • กำไรสุทธิเทียบกับแผน ด้านการบริการลูกค้า • ความพึงพอใจของ dealer ผู้จัดจำหน่าย • กำไรให้ dealer เพิ่มขึ้น • เพิ่มคุณภาพการทำงานขอ dealer • ขยายสาขาผู้จัดจำหน่าย • ความพึงพอใจของลูกค้า • การให้บริการ • ภาพลักษณ์ (Image) • การเพิ่มการบริการใหม่ • สัดส่วนการตลาด • กำไรของ dealer เพิ่มขึ้น ด้านการจัดการ • พัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ • การสร้างการบริการผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ • การปรับปรุงคุณภาพน้ำมัน • การสร้างระบบตรวจสอบคุรภาพน้ำมัน • พัฒนา dealer • จัดโปรแกรมการ พัฒนา dealer ผู้จัด จำหน่าย ผลิตภัณฑ์ • การลงทุนในผลิตภัณฑ์ใหม่ • ผลตอบแทนของผลิตภัณฑ์ใหม่ • กำไรต่อผลิตภัณฑ์ • การสร้างดัชนีคุณภาพของ dealer • การสร้างคุณภาพของการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ด้านการเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร • การฝึกอบรม • การสร้างสิ่งแวดล้อมการทำงาน • การลงทุนปรับปรุงระบบ IT การจัดระบบ IT ความสามารถของพนักงาน project evaluation ดัดแปลงจาก ภัทรพร วรทรัพย์ : กรมบัญชีกลาง
รูปแบบการประเมินโครงการที่กล่าวมาในแต่ละรูปแบบมีจุดเด่นจุดด้อยและประโยชน์แตกต่างกันไปซึ่งต้องนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมเพื่อใช้ในการประเมินให้ได้ผลดีที่สุด รูปแบบการประเมินโครงการที่กล่าวมาในแต่ละรูปแบบมีจุดเด่นจุดด้อยและประโยชน์แตกต่างกันไปซึ่งต้องนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมเพื่อใช้ในการประเมินให้ได้ผลดีที่สุด project evaluation
สรุปการประเมินผลโครงการสรุปการประเมินผลโครงการ หมายถึงการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของโครงการต่างๆทั้งในระหว่างที่โครงการกำลังดำเนินอยู่หรือเมื่อโครงการได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วโดยอาจมีการนำเอาระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร์หรือสังคมศาสตร์มาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการประมาณการหรือประเมินค่าหรือคุณค่าของโครงการหรือความเป็นไปได้ของโครงการเพื่อการตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของโครงการ project evaluation
การบริหารโครงการ (Project Management) CPM (Critical Path Method) และPERT (Program Evaluation Review Technique) เป็นเทคนิควิธีการบริหารโครงการที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดการทำงาน และการกำกับดูแลโครงการ project evaluation
CPM/PERT CPM/PERT สามารถใช้ตอบโจทย์การบริหารโครงการต่อไปนี้ • ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินโครงการ ความเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ • การวิเคราะห์ว่าอะไรคือกิจกรรมที่อาจส่งผลต่อการดำเนินการโครงการที่อาจส่งผลให้เกิดความล่าช้าโครงการ • การวิเคราะห์ความสามารถในการส่งผลงานให้ทันกำหนดเวลา • การควบคุมการนำส่งผลงานตามเป้าหมายจะดำเนินการได้อย่างไร ด้วยต้นทุนที่ต่ำที่สุด project evaluation
PERT CPM • The origin is military • It is an event oriented approach. • There is allowance for uncertainly • It has three time estimates • It is probabilistic model with uncertainty in activity duration • It does not demarcate between critical and non-critical activities. • The origin is industrial • It is an activity-oriented system • No such allowances. • There is only one single estimate of time and the emphasis is on cost. • It is a deterministic model with well-known activity time based upon past experience • It marks critical activities. ความแตกต่างระหว่าง PERT และ CPM project evaluation
PERT CPM • It is especially suitable when high precision is required in time estimates • Time is averaged • The concept of crashing is not applied • It lays emphasis on reduction of the execution time of the project without too much cost implications .It is time based. • It is suitable when reasonable precision is required. • No averaging of time is required • The concept of crashing is applied • It lays emphasis on the greatest reduction in the completion time with the least increase in project cost. It is cost-based. project evaluation
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation • มีหลายรูปแบบขึ้นกับการนำไปใช้ การจำแนกรูปแบการประเมินผล: • วัตถุประสงค์การประเมินผล • วิธีการประเมินผล (methodology) • ระยะเวลาที่ใช้ในการประเมินผล • ผู้เกี่ยวข้องกับการประเมินผล • ฐานะของผู้ทำหน้าที่ประเมินผล • การประเมินตามวัตถุประสงค์ แยกออกได้เป็น • ประเมินผลระหว่างดำเนินการ (formative evaluation) • ประเมินผลรวมสรุป (summative evaluation) • ประเมินผลกระทบจากโครงการ (impact evaluation) project evaluation
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation • ตามระยะเวลาการประเมินผล • Ex-ante evaluation • Ex-Post evaluation • ตามฐานะของผู้ทำหน้าที่ประเมินผล • External evaluation • Internal evaluation or self-assessment project evaluation
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation • Ex–ante evaluation • ดำเนินการก่อนการเริ่มต้นโครงการ ซึ่งยังคิดเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนโครงการ • นับเป็นการประเมินผลหรือการพิจารณาคุณภาพของการเริ่มต้นโครงการ • Ex-post evaluation • ดำเนินการหลังเสร็จสิ้นโครงการ • สามารถใช้ประเมินความยั่งยืนโครงการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบจากโครงการ • สามารถระบุปัจจัยความสำเร็จ(factors of success) ที่นำไปใช้อ้างอิงกับโครงการอื่นๆ ได้ project evaluation
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation • การประเมินผลจากภายนอก External evaluation • ดำเนินการโดยบุคคลภายนอกที่กำหนดตามกฎหมายหรือสัญญา ซึ่งไม่ใช่การตรวจสอบเพื่อจับผิด แต่มุ่งเพื่อการปรับปรุงเพิ่มคุณภาพการดำเนินโครงการ • ผู้ทำหน้าที่ประเมินต้องไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ • อาจต้องได้รับความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ของโครงการ project evaluation
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation • การประเมินด้วยตนเองหรือจากภายในInternal or self assessment • สะท้อนการตรวจสอบกระบวนการดำเนินโครงการ • มุ่งเพื่อเรียนรู้และปรับปรุงกระบวนการดำเนินโครงการ • อาจจำเป็นต้องจำแนกหน้าที่และการได้มาของข้อมูลก่อนการประเมิน เพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้ง project evaluation
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation • ตามเทคนิคที่ใช้ในการประเมิน • Quantitative • Qualitative project evaluation
การประเมินโครงการของครบวงจร (Integrated Analysis) • เป้าหมายเพื่อป้องกันการนำโครงการ “ไม่ดี” ไปปฎิบัติ หรือไม่ให้เกิดการปฎิบัติของโครงการ “ที่ดี” • ความหมายของโครงการ (project) • เป็นโครงการลงทุน ทั้งที่เป็นการ capital investment หรือ social investment • ต้องมีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของการลงทุนที่ชัดเจน project evaluation
ลักษณะโครงการที่ต้องศึกษาการลงทุนลักษณะโครงการที่ต้องศึกษาการลงทุน • Demand Module การศึกษากลุ่มผู้มีความต้องการประโยชน์จากโครงการ • Technical Module ความเป็นไปได้ทางเทคนิคของโครงการ แผนลงทุน การบริหารจัดการ ขนาด ที่ตั้งโครงการ ต้องมีข้อมูลแยกระหว่างทางเทคนิคการลงทุน ต้นทุนการเงิน ระยะเวลาที่ใช้ในการก่อสร้าง • Project Financing การวิเคราะห์การเงินของโครงการ ที่มาของเงิน ขนาดของทุนที่ใช้ ฯลฯ project evaluation
แนวทางการพิจารณาประเมินโครงการแนวทางการพิจารณาประเมินโครงการ • การพิจารณากิจกรรมต่อยอด (Incremental Activity) • Net receipts, net cash flows, and net economic benefits with the project • With/without project • การประเมินกรณี without??? • การพิจารณาต่อยอด (Incremental) • กระแสเงินสดรับจากโครงการ = ผลประโยชน์สุทธิ – ต้นทุนโครงการ - ประโยชน์ที่เกิดขึ้นหากไม่มีโครงการ project evaluation
แนวทางการประเมินแบบครบวงจร (Integrated Approach) • เป็นการพิจารณาผลประโยชน์และต้นทุน ทั้งที่เป็น • ด้านการเงิน (financial Appraisal) • ด้านเศรษฐศาสตร์ (Economic Appraisal) • ความเสี่ยงของโครงการ (Risk Appraisal) • ผู้เกี่ยวข้องกับโครงการ (Stakeholder Analysis) project evaluation
การประเมินทางการเงิน • ข้อมูลที่ต้องการ • กระแสมูลค่าผลประโยชน์ Benefits • กระแสมูลค่าต้นทุน Costs • การกำหนดfinancial cash flow statement • ระยะเวลาที่ได้รับผลประโยชน์ ต้นทุน • ผลต่อสภาพคล่อง Illiquidity • บัญชีรับ/จ่าย ล่วงหน้า Account receivable/payable • เกณฑ์การประเมินตัดสินใจโครงการจะขึ้นกับผู้ทำหน้าที่ประเมิน • เจ้าของเงินกู้ • รัฐบาล • เจ้าของโครงการ • เกณฑ์การตัดสินใจ ทั่วไปใช้ • NPV • IRR project evaluation
การประเมินความเสี่ยงและการจัดการการประเมินความเสี่ยงและการจัดการ • มีปัจจัยเกี่ยวข้องกับความสำเร็จโครงการหลายปัจจัย • อัตราเงินเฟ้อ • อัตราแลกเปลี่ยน • ราคาและปริมาณของ inputs/outputs • การพิจารณาความเสี่ยง • เริ่มต้นจากการหาปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น • หาโอกาสความน่าจะเป็นที่อาจเกิดความเสี่ยง • ประเมินระดับของผลที่เกิดจากความเสี่ยง project evaluation
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์การประเมินทางเศรษฐศาสตร์ • มุ่งความสนใจที่สวัสดิการเศรษฐศาสตร์ มากกว่าผลตอบแทนทางการเงิน • การก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ • การแจกเบี้ยผู้สูงอายุ ฯลฯ • สิ่งที่ต้องดำเนินการ • เหตุผลและกำหนดข้อสมมุติฐานต่างๆ ของโครงการ • ปัญหาการประเมินโครงการลักษณะนี้มักประสบปัญหาการบิดเบือนของตลาดเช่น การเก็บภาษีของรัฐบาล การอุดหนุนของรัฐ • การพัฒนาหา Economic Resource Statement เหมือนการหา cash flow statement คือการหากระแสผลประโยชน์และต้นทุนที่ได้รับ ในอนาคต • เกณฑ์การประเมินผล • การเลือกใช้ discount rate project evaluation