1 / 22

ทฤษฎีและหลักการวัดค่าทางไฟฟ้า

ทฤษฎีและหลักการวัดค่าทางไฟฟ้า. ชนิดของเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า. เครื่องวัดแบบเข็มชี้ค่า (Analog). ( Analog) V-A meter. (Analog)Watt meter. เครื่องวัดแบบดิจิตอล. Digital multimeter. สัญลักษณ์ปริมาณกระแส. 1 ) การวัดแรงดัน ของไฟฟ้ากระแสตรง.

Download Presentation

ทฤษฎีและหลักการวัดค่าทางไฟฟ้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทฤษฎีและหลักการวัดค่าทางไฟฟ้าทฤษฎีและหลักการวัดค่าทางไฟฟ้า

  2. ชนิดของเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าชนิดของเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า • เครื่องวัดแบบเข็มชี้ค่า(Analog) ( Analog) V-A meter (Analog)Watt meter

  3. เครื่องวัดแบบดิจิตอล Digital multimeter

  4. สัญลักษณ์ปริมาณกระแส

  5. 1) การวัดแรงดัน ของไฟฟ้ากระแสตรง การวัดแรงดันของไฟฟ้ากระแสตรง นั้นต้องนำVoltmeter มาต่อขนานกับตัวที่เราจะทำการวัด

  6. การเพิ่มพิกัดการวัดแรงดันการเพิ่มพิกัดการวัดแรงดัน สามารถทำได้โดยการต่อตัวmultiplier เพื่อทำหน้าที่แบ่งแรงดันดังนี้ เมื่อRPคือตัวต้านทานmultiplier

  7. ข้อควรคำนึงในการใช้โวลท์มิเตอร์(Analog)ข้อควรคำนึงในการใช้โวลท์มิเตอร์(Analog) • ต่อขั้วให้ถูก • ควรใช้สเกลมากสุดก่อน • ต้องต่อคร่อมวงจร

  8. การวัดกระแส ของไฟฟ้ากระแสตรง การวัดกระแส ของไฟฟ้ากระแสตรง จะทำการต่อAmmeter แบบอนุกรมกับตัวที่ต้องการวัด

  9. การเพิ่มพิกัดการวัดกระแสการเพิ่มพิกัดการวัดกระแส สามารถเพิ่มพิสัยการวัดได้โดยต่อตัวต้านทานshuntที่จะทำหน้าที่แบ่งกระแสที่เกินได้

  10. ข้อควรคำนึงในการใช้แอมมิเตอร์(Analog)ข้อควรคำนึงในการใช้แอมมิเตอร์(Analog) • ต่อให้ถูกขั้ว • เมื่อใช้แอมมิเตอร์แบบวัดได้หลายค่า ควรใช้ช่วงสเกลสูงสุดก่อน • ต่ออนุกรม

  11. 2) การวัดแรงดันและกระแสสลับ (Sinusoidal signal ) กระแสสลับจะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งขนาดและทิศทาง ตามเวลา แต่มีคาบที่เป็นค่าคงที่ สัญญาณsinusoid มาตรฐานพบบ่อยในแรงดันกระแสสลับมีสมการทางคณิตศาสตร์ดังนี้ Emsin wtเมื่อให้eเป็นinstantaneous value , Emเป็นmaximum value , เป็นความถี่ของสัญญาณ , และtเป็นตัวแปรเวลา

  12. 2.1) การบ่งชี้ขนาดของสัญญาณsinusoid • แรงดันpeak-to-peak (EP-P) เป็นค่าแรงดันจากยอดด้านบวกเมื่อเทียบกับยอดด้านลบของรูปคลื่นและมีค่าเป็น 2 เท่าของค่าmaximum ( Ep-p= 2Em) • แรงดันเฉลี่ย ( Eavg) หมายถึงพื้นที่ใต้เส้นโค้งในหนึ่งหน่วยเวลากรณีที่สัญญาณมีความสมมาตรในด้านบวกและด้านลบค่าแรงดันเฉลี่ยจะเป็นศูนย์ • ค่าประสิทธิผล( root mean square;Erms ) คือค่าของกระแสสลับที่มีผลของพลังงานเท่ากระแสตรง

  13. ออสซิลโลสโคป • สามารถบอกถึงรูปร่าง ลักษณะ ความถี่ และขนาดของสัญญาณไฟฟ้า ในเวลาต่างๆ ซึ่งเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ต่องานด้านอิเล็กทรอนิกส์มาก

  14. วิธีอ่านค่าจาก ออสซิลโลสโคป • การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ Vp-p = จำนวนช่อง*ความไวในแนวตั้ง*การลดทอนของสายต่อวัด

  15. ตัวอย่าง

  16. การวัดค่าความต้านทาน • ให้ใช้ โอห์มมิเตอร์วัดคร่อมตัวต้านทานที่จะทำการวัด

  17. มัลติมิเตอร์ เป็นมิเตอร์ที่รวมโวลท์มิเตอร์แอมป์มิเตอร์โอห์มมิเตอร์ไว้ด้วยกันในเครื่องเดียวโดยผู้ใช้จะเลือกว่าต้องการใช้งานแบบใด • - Analog multimeter แสดงผลเป็นแบบเข็มชี้ส่วนประกอบหลักคือขดลวดเคลื่อนที่ราคาถูกและสามารถสังเกตความเปลี่ยนแปลงของปริมาณที่วัดได้แต่มีความเที่ยงตรงน้อยกว่า • - Digital multimeter แสดงผลเป็นตัวเลขมีความเที่ยงตรงสูงอ่านค่าได้ง่ายแต่ราคาแพงและไม่สามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงใดๆได้เลย

  18. ข้อควรระวังในการอ่านค่าจากเครื่องวัดเพื่อป้องกันความผิดพลาดข้อควรระวังในการอ่านค่าจากเครื่องวัดเพื่อป้องกันความผิดพลาด • - ตำแหน่งการชี้ค่าศูนย์และการแบ่งสเกลบนหน้าปัด ก่อนใช้งานจะต้องปรับตำแหน่งชี้ศูนย์ให้ถูกต้องซึ่งเครื่องวัดที่ใช้งานอาจเป็นแบบตำแหน่งศูนย์อยู่กึ่งกลางหน้าปัดหรือแบบตำแหน่งศูนย์อยู่ซ้ายสุดของหน้าปัดก็ได้และการแบ่งสเกลบนหน้าปัดแบบเป็นเชิงเส้น(linear) จะสามารถอ่านค่าได้แม่นยำมากกว่าการแบ่งสเกลแบบไม่เชิงเส้น( non-linear )

  19. - การวางเครื่องวัด ควรจัดวางในตำแหน่งที่เหมาะสมกับเครื่องวัดชนิดนั้นๆ เช่น เครื่องวัดที่ออกแบบสำหรับวางในแนวนอน หากนำไปจัดวางในแนวดิ่งเพื่อทำการวัด จะอ่านค่าได้คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงมาก เพราะเกิดผลเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ( เครื่องวัดที่เป็นเข็มชี้ ส่วนมากมีโครงสร้างทางกลเป็นหลัก การที่มีแรงอื่นมากระทำ จะมีผลต่อมุมเบี่ยงเบนในการชี้ )

  20. - การใช้งานต่อเนื่องเป็นเวลานาน โครงสร้างภายในทางกล ของเครื่องวัดจะเกิดสภาพล้าเมื่อผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานาน และยังทำให้เกิดการขยายตัวของขดลวดทองแดง อันเนื่องมาจากความร้อนในการหมุนของขดลวด

  21. - ตำแหน่ง หรือ ระดับสายตาในการมองเพื่ออ่านค่า เครื่องมือวัดที่แสดงค่าโดยเข็มชี้บนหน้าปัด ผู้อ่านค่าจะต้องอ่านในระดับที่สายตาตั้งฉากกับหน้าปัดและตำแหน่งเข็มชี้จึงจะได้ค่าที่ถูกต้อง ดังจะเห็นได้จากเครื่องวัดแบบเข็มชี้ส่วนมากจะติดกระจกเงาบริเวณหน้าปัด เพื่อให้ผู้อ่านตรวจสอบได้ว่าขณะที่อ่าน ระดับสายตาตั้งฉากกับสเกลหรือไม่ ถ้าตั้งแล้วผู้อ่านจะมองเห็นเข็มชี้และเงาของมันซ้อนทับกันพอดี( มองเห็นเป็นภาพเดียว ) ถ้าตำแหน่งนั้นยังไม่ตั้งแกผู้อ่านจะมองเห็นเข็มชี้ พร้อมเงาของมันสะท้อนอยู่ใกล้ๆ กับเข็มชี้จริงๆ

More Related