390 likes | 1.19k Views
Thailan d Quality Prize. ประเภทผลงาน เพื่อรับรางวัล ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย - ญี่ปุ่น ) ถนนพัฒนาการ 18. Manufacturing. Business for Service. ประเภทกิจกรรม QCC. Service. Support Service. Office Service. Task Achieving. ปี 2555. New Born QCC Prize.
E N D
Thailand Quality Prize ประเภทผลงาน เพื่อรับรางวัล ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น ) ถนนพัฒนาการ 18
Manufacturing Business for Service ประเภทกิจกรรม QCC Service Support Service Office Service Task Achieving ปี 2555
New Born QCC Prize กลุ่ม QCที่อยู่ในหน่วยงานผลิตหลัก หรือกระบวนการหลักที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ของสถานประกอบการนั้นโดยตรง Junior QCC Prize Manufacturing QCC Prize
Manufacturing Business for Service Task Achieving (TA) Support Service Office Service
ระดับรางวัล รางวัล ประเภท
Kaizen Suggestion System การปรับปรุงงานที่ไม่มีประดิษฐ เพื่อปรับปรุงกระบวนการให้อัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติ หรือหลักการทางกลศาสตร์ Automation Kaizen การปรับปรุงหรือประดิษฐ์ให้เป็นระบบอัตโตมัติหรือกึ่งอัตโตมัติโดยใช้ไฟฟ้า อิเลคทรอนิคส์ ไฮดรอลิก นิวแมติกเข้ามาเกี่ยวข้อง
Karakuri Kaizen (Un plug) การปรับปรุงหรือ ประดิษฐ์ เพื่อปรับปรุงกระบวนการ โดยใช้หลักกลศาสตร์ เช่น เฟือง สปริง คาน แรงลม ล้อ เพลา คานงัด แสงแดดหรืออุปกรณ์ที่มีการสะสมพลังงาน ประเภทน้ำ ลม มูลสัตว์หรืออื่นๆ แทนพลังงานหรือสิ่งประดิษฐกึ่งอัตโนมัติที่ไม่ใช้พลังงานจากไฟฟ้า
ของเหลือจากสะสางมาปรับปรุงใหม่ Recycle /Refill/Reduce/Re product/Repair
ความหมายของ “ ไคเซ็น ” = การเปลี่ยนแปลง ไค (Kai) 改 善 = ที่ดีขึ้น เซ็น (Zen) MR. TOZAWA BUNJI คือการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง “Continuous improvement”
Kaizen Suggestion System การปรับปรุงงานที่ไม่มีประดิษฐ เพื่อปรับปรุงกระบวนการให้อัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติ หรือหลักการทางกลศาสตร์
กระบวนการทำความสะอาด ก่อนKaizen หลัง Kaizen • ใช้เวลาทำความสะอาดพื้นที่นาน • ฝุ่นฟุ้งกระจายไปยังหน่วยงานข้างเคียง • ตกหล่นลงรางระบายน้ำทิ้ง สร้างปัญหาให้กับปั๊มน้ำของระบบบำบัดน้ำเสีย • ลดเวลาทำความสะอาดจาก 3 นาที เหลือ 1 นาที • ลดการอุดตันของปั๊มน้ำของระบบบำบัดน้ำเสีย ข้อมูลอ้างอิง: การประกวด Kaizen Suggestion System Award ครั้งที่ 1 ,บริษัท เซอร์กิตอินดัสตรีส์ จำกัด
คฑาตรวจจับไฟฟ้ารั่ว ม.บูรพา ท่อน้ำตราช้าง
Karakuri Kaizen (Un plug) การปรับปรุงหรือการประดิษฐ์ เพื่อปรับปรุงกระบวนการ โดยใช้หลักกลศาสตร์ เช่น เฟือง สปริง คาน แรงลม ล้อ เพลา คานงัด แสงแดดหรืออุปกรณ์ที่มีการสะสมพลังงาน ประเภทน้ำแทนพลังงาน มูลสัตว์ หรือสิ่งประดิษฐกึ่งอัตโนมัติ
เครื่องมือตรวจจับถ่านลิกไนต์เครื่องมือตรวจจับถ่านลิกไนต์
การบริหารกิจกรรมกลุ่ม กฝผ. ข้อเด่น • ระบบบริหารมีความชัดเจนด้านวิสัยทัศน์ นโยบาย วัตถุประสงค์ เป้าหมาย • ความชัดเจนใน QC Story 90% เป็นรูปธรรม มีตัวเลข ข้อมูล สนับสนุน กราฟ ข้อมูล • เลือกหัวข้อเรื่องส่วนใหญ่มีเหตุผลสนับสนุนเช่น ปัญหาอดีต นโยบายบริหารของหน่วยงาน KPI หรือปัญหาที่เป็นเรื่องสืบเนื่องที่มุ่งมั่นจะดำเนินการให้ลดปัญหากระทั่งสิ้นสุด • มูลเหตุจูงใจส่วนใหญ่ของผลงานจะชัดเจน มองตนเอง หน่วยงาน สังคม ผลทางตรง อ้อม
ข้อปรับปรุง ระบบความต้องการในแต่ละปีให้เห็นภาพดำเนินการ และสามารถสานต่อไปทุกผู้บริหาร กลุ่มผลงานบางกลุ่มจะมีจุดอ่อน โดยเฉพาะกลุ่มด้านสนับสนุน เรื่องส่วนใหญ่สามารถแก้ไขพื้นฐานเช่น 5ส หรือสอบถามบุคคลอื่นก็เสร็จสิ้น เลือกหัวข้อเรื่องบางเรื่องก็ซับซ้อนและบางครั้งเลือกเรื่องหนึ่งปฏิบัติการอีกเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะเรื่องขึ้นต้นเป็นเรื่อง “เพิ่มหรือปรับปรุง” มูลเหตุจูงใจกว้างในบ้างผลงานและเป็นจุดอ่อนเมื่อปฏิบัติกลับว่าระยะเวลาเท่ากับปกติที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพียง 2-3 ข้อ
สำรวจปัจจุบันบางกลุ่มครบถ้วนมีตัวเลขหรือเปอร์เซนต์แสดงด้วยกราฟ หรือนโยบาย • ตั้งเป้าหมายแหล่งที่มาอ้างอิง • แผนงานดำเนินงานแก้ไขหรือปรับปรุงค่อนข้างชัดเจน มีการอธิบายมอบหมายงานให้กับทีมงานตามความสามารถหรือ • ผู้รับผิดชอบจะสามารถปฏิบัติได้ตามงาน • วิเคราะห์หาสาเหตุ มีเครื่องมือระดับขั้นสูงประกอบมากขึ้น เช่น scatter/เรดาห์ • พิสูจน์สาเหตุ แก้ไข ปรับปรุงมีความชัดเจนหากเทียบกับผลงานต่างๆ และสามารถคิดค้นแนวทางแก้ไขใหม่ เพื่อให้เกิดผลดำเนินการ
สำรวจบางครั้งมากเกินไป ทั้งที่เป็นนโยบายหรือมีเก็บข้อมูลครั้งที่ผ่านมา เรื่องที่ 2 • ตั้งเป้าหมายบางผลงานมากเกินไป • แผนงานส่วนใหญ่ตรง แต่บางผลงานมีการเลื่อนแต่ไม่สามารถแสดงปัญหา สาเหตุ • ผู้รับผิดชอบมีความสามารถเกินนจริง(บางผลงาน • วิเคราะห์หาสาเหตุหรือพิสูจน์จะมีเครื่องมือมากชนิดกระทั่งจุดหลักขาดหายไป • พิสูจน์สาเหตุ แก้ไขหรือจุดปรับปรุงบางผลงานก็มากเกินสมควร โดยเฉพาะช่วงแก้ไขจะสร้างเครื่องมือขึ้นมาใหม่ ทำให้เกิดปัญหาจะกลายเป็น Kaizen หรือคะแนนช่วงนี้จะน้อย จุดปรับปรุง
การบริหารกิจกรรมกลุ่ม กฝผ. จุดเด่น • นำเครื่องมือพิสูจน์สาเหตุ เพื่อแก้ไขปัญหาด้านเทคนิค อ้างอิงมากกว่าอดีต • เนื้อหาการแก้ไขปัญหาได้การพิสูจน์หรือยืนยันจากกลุ่มผลงาน ผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงบุคคลผู้เชี่ยวชาญ • งบประมาณบางส่วนได้รับการอนุมัติจากระดับบริหารด้านสร้าง ซ่อม พัฒนาหรือการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ • แบบฟอร์มการประชุมและรายละเอียดของการดำเนินงานด้านทีมงานมีการจัดทำเป็นลายลักษณ์หรืออักษร แยกกลุ่ม ปี และติดตามที่ระบบสารสนเทศ • มาตรฐานใหม่จะเป็นผลงานที่อยู่ในกระบวนการทำงาน และมีการติดตามผลอย่างต่อเนื่องเมื่อมีเหตุการณ์ใดผิดปกติจากมตรฐานจะแก้ไขทันที • เรียนรู้ร่วมกันระหว่างสมาชิกกลุ่มและกระจายผลไปสู่กลุ่มผลงานอื่นด้วย Intranet • สรุปเรื่องราวทั้งหมดมีแสดงด้วยกราฟ ตัวเลขเห็นความชัดเจนทั้งผลทางตรง ทางอ้อม • มีการแสดงปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไขของกลุ่มกับทีมงาน รวมถึงวัดผลความรู้ที่ได้รับจากผลงานนั้น • ผลงานเรื่องต่อไป จะมีข้อมูลสนับสนุนจากแนวคิดวิเคราะห์เป็นตัวเลขหรือเปอร์เซนต์ให้เห็นความต่อเนื่องของ P-D-C-A
จุดปรับปรุง • เครื่องมือพิสูจน์สาเหตุ เพื่อแก้ไขปัญหาบางผลงานมากเกินและทำความยุ่งยากในความเข้าใจ พิสูจน์สถานะมากเกิน • เนื้อหาการแก้ไขปัญหามักจะสรุปด้วยการสร้างเครื่องมือ ทำให้ผลงานเกิดการคาบเกี่ยวระหว่าง Kaizen และ QCC (ผลงานอาจจะต้องแก้ไขต้นเหตุแหล่งการเกิดจริงๆ หรืออาจจะแยกหรือปรับปรุงผลงานนำเสนอ ระหว่าง กฟผ. และ ส.ส.ท. หรือเวทีอื่น • แบบฟอร์มการประชุมและรายละเอียดของการดำเนินงานด้านทีมงานมีการจัดทำเป็นลายลักษณ์หรืออักษร แยกกลุ่ม ปี และติดตามที่ระบบสารสนเทศ แต่บางผลงานก็มากกระทั่งหายจากสาระที่ควรเก็บ • มาตรฐานจะมีบางผลงานไม่มีการป้องกับพลั้งเผลอ หากเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นหรือกระทบต่อจะเฝ้าระวังอย่างไร • ผลงานเรื่องต่อไปหรือเรื่องไม่สามารถปฏิบัติการได้ ควรมีการแจ้งกับกรรมการหรือหัวหน้าผู้ดูแลต่อเนื่อง หากสามารถแก้ไขเรื่องดังกล่าวได้ ควรให้ QCC เป็นเรื่องถัดไปเพื่อลดขั้นตอน สำรวจ คัดเลือก ฯลฯ และทำให้วงจรหมุนตาม QCC พันธุ์แท้ มากกว่าพันธุ์ทาง ยกเว้น นโยบายบริหารประเภทคอขาดบาดตายจริงๆ