1 / 29

องค์กรแพทย์

องค์กรแพทย์. สำคัญอย่างไร “การเตรียมรับ Re-accreditation”. สำคัญมากสุด. เพราะเป็นผู้นำของ CLT, ทีมระบบงานสำคัญ. มีบูรณาการของการพัฒนา (คือทำให้การพัฒนาสมบูรณ์ โดยให้หน่วยย่อยๆทำหน้าที่ตนเองอย่างสมบูรณ์ ผสมกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียว). บอกผลลัพธ์องค์กร “เป้าประสงค์” ตามพันธกิจ.

jubal
Download Presentation

องค์กรแพทย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. องค์กรแพทย์ สำคัญอย่างไร“การเตรียมรับ Re-accreditation” สำคัญมากสุด เพราะเป็นผู้นำของ CLT, ทีมระบบงานสำคัญ

  2. มีบูรณาการของการพัฒนา (คือทำให้การพัฒนาสมบูรณ์ โดยให้หน่วยย่อยๆทำหน้าที่ตนเองอย่างสมบูรณ์ ผสมกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียว) บอกผลลัพธ์องค์กร“เป้าประสงค์”ตามพันธกิจ แบบอย่าง รพ.อื่น *CEO รพ.ที่ได้รับRe-accreditation *CLT * ระบบงาน ระบบงานหลักมีประสิทธิภาพ - มีวัฒนธรรมคุณภาพ - ระบบงานความปลอดภัย *MSO - การเรียนรู้ *CLT มีนวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์ เห็นผลลัพธ์ที่ดีขึ้น“Clinical outcome”

  3. วัฒนธรรมคุณภาพ • แก้ปัญหา root cause วางระบบป้องกัน ผลลัพธ์ • 3 C PDSA • การเชื่อมโยงกันเป็นระบบ

  4. วัฒนธรรมคุณภาพ 3C PDSA Core value C1 บันไดขั้นที่ 1 ทำงานประจำวันให้ดี มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน C1 บันไดขั้นที่ 2 ตัวชี้วัด มีลักษณะเป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด C1 บันไดขั้นที่ 3

  5. Context C2 บันไดขั้นที่ 1 รู้ว่าปัญหาของตัวเองคือ ? C2 บันไดขั้นที่ 2 รู้หน้าที่, เป้าหมาย, ศักยภาพของหน่วยงาน,CLT, ระบบงาน C3 บันไดขั้นที่ 3 รู้หน้าที่, เป้าหมาย, ศักยภาพของหน่วยงาน,CLT, ระบบงานองค์กร

  6. Criteria C3 บันไดขั้นที่ 1 หัวหน้าพาทำ + พาทบทวน C3 บันไดขั้นที่ 2 RM, QA, CQI + มาตรฐานบทที่ เห็นประโยชน์ C3 บันไดขั้นที่ 3 มาตรฐานทั้ง 20 บท

  7. บริบท context วิสัยทัศน์, พันธกิจ, จุดเน้น รพ. Criteria ค่านิยม core value รพ. หน่วยงาน โรค ระบบงานสำคัญ วัฒนธรรมคุณภาพ การเชื่อมโยงเป็นระบบ

  8. วัฒนธรรมความปลอดภัย CEO - สร้างความตระหนักจากเหตุการณ์จริง รายงาน Patient Safety leadership walk rounds Safety brief Morning briefทบทวนข้างเตียงส่งต่อระหว่างเวรLeadership walk rounds RM CLT ผู้ปฏิบัติงาน รายงาน -rapid response teams เมื่อเกิด adverse event-สอนด้วยสถานการณ์จำลอง

  9. สิ่งที่ผู้เยี่ยมสำรวจสิ่งที่ผู้เยี่ยมสำรวจ ต้องการทราบ จากองค์กรแพทย์ คือ ?

  10. รู้เป้าหมายการรวมตัวกันเพื่อหน้าที่ ? • มีมาตรฐานวิชาชีพ - ใช้ evidence base ในการดูแลผู้ป่วย- ใช้กิจกรรมทบทวนคลินิกในหลายรูปแบบ-กระตุ้น CLT ให้พัฒนาครอบคลุมประเด็นสำคัญในการพัฒนาของทีม 2. มีจริยธรรมมีจริยธรรม 3. ประสานงานกับทีมพัฒนาคุณภาพอื่น

  11. รู้บริบทของตัวเอง • จำนวนแพทย์ • แพทย์เพิ่มพูนทักษะ • ความเชี่ยวชาญ • ระดับบริการ • โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับองค์แพทย์ CEO CLT ทีมระบบงานหลัก

  12. รู้ปัญหาของตัวเอง Medical record quality review Trigger tool การทบทวน 12 กิจกรรม Medical risk จากโรคที่สำคัญในแต่ละ CLT ปัญหา จริยธรรม, วินัย , การละเมิดสิทธิผู้ป่วย องค์กรแพทย์ Safety goals 2007 ทราบตัวเองเป็นอย่างไร • ทำงานประจำกันให้ดี ผลลัพธ์องค์กรดีหรือไม่ ปฏิบัติตนเหมาะกับบริบท รพ.เพียงใด พัฒนาคุณภาพไปเรื่อยๆ

  13. รู้ว่าตัวเองช่วยในการพัฒนาคุณภาพอะไรรู้ว่าตัวเองช่วยในการพัฒนาคุณภาพอะไร • ทำงานประจำกันให้ดี • ทำ 12 กิจกรรมทบทวน • บทบาทองค์กรแพทย์ต่อ CLT

  14. ทำ 12 กิจกรรมทบทวนหรือไม่ ผลลัพธ์ เชื่อมโยง CLT - risk - CLT - risk - CLT - IC - PTC

  15. บทบาทองค์กรแพทย์ต่อ CLT • เรื่อง “การใช้เครื่องมือ trigger” • เรื่อง การทบทวนเวชระเบียนขณะผู้ป่วยโรงพยาบาล • เรื่องการทบทวน 12 กิจกรรม ในฐานะผู้นำ CLT

  16. นำเสนอ CLT & องค์กรแพทย์ เรื่อง “การใช้เครื่องมือ Trigger”(medical record quality review) เพื่อช่วยในการวัด Quality & Safety ของผู้ป่วย โดย คณะกรรมการ RM รพ.ค่ายสุรนารี ส.ค.50

  17. Trigger Tool (Medical record quality review) เครื่องมือวัด *วัดที่ outcome ไม่ใช่ process (error) เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (adverse event) หมายถึง การบาดเจ็บ อันตราย หรือภาวะแทรกซ้อน ที่เป็นผล จากการดูแลรักษา อาจก่อให้เกิด อันตราย (Harm)

  18. (Harm) อันตราย หมายถึง การสูญเสีย ด้านร่างกาย จิตใจ Eอันตรายชั่วคราวต่อผู้ป่วยซึ่งต้องให้การบำบัดรักษา Fอันตรายชั่วคราวต่อผู้ป่วยซึ่งต้องทำให้นอนระยะนานขึ้น G อันตรายถาวรต่อผู้ป่วย Hต้องช่วยชีวิต I Dead

  19. จัดลำดับ RM Clinicalrisk Risk profile Quality safety CLT 5อันดับโรค,หัตถการ, มีอยู่แล้ว ดีอยู่แล้ว เกิดจากปัญหา- กระบวนการทำงาน- ทบทวน 12 กิจกรรม- Incident report - Quality round * เน้นผลลัพธ์ > กระบวนการ * ไม่เน้นการจับผิด * ผู้ทบทวนไม่ต้องอยู่ในเหตุการณ์ * ครอบคลุมการเกิด AE 1) Trigger tool 2) Thailand safety goals + indicator

  20. วิธีการทำ Trigger tool ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน

  21. 1ตั้งTRIGGERS(ตัวอย่าง) • ผู้ป่วยที่กลับเข้านอนโรงพยาบาลซ้ำภายใน 30 วัน • ผู้ป่วยที่แพ้ยา • ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในโรงพยาบาลหรือผู้ป่วย sepsis • ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บขณะนอนโรงพยาบาล • ผู้ป่วยที่เสียชีวิตโดยไม่คาดฝัน • ผู้ป่วยที่ถูกส่งต่อไปโรงพยาบาลอื่น • ผู้ป่วยที่ย้ายเข้า ICU โดยไม่ได้วางแผน • ผู้ป่วยที่เกิดการบาดเจ็บต่ออวัยวะหรือถูกตัดอวัยวะโดยไม่ได้วางแผน • ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดซ้ำโดยไม่ได้วางแผน • ผู้ป่วยที่มี cardiac หรือ respiratory arrest • ผู้ป่วยที่มี neurological deficit เกิดขึ้นระหว่างอยู่โรงพยาบาล • ผู้ป่วยที่มีการฟ้องร้องเป็นคดีความ • ผู้ป่วยที่เกิดการบาดเจ็บระหว่างการคลอดหรือการแท้ง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล: การวัดเรื่องความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย

  22. 2 เลือก High risk Charts • Complication ลง DRG • CPR Dead • Admit ICU ( unplan ) • Readmission chart • กลับตรวจซ้ำที่ ER ( unplan 48 ชม. & นับ admit หรือ CPR )

  23. 2 เลือก High risk charts (ต่อ) • Refer case (Unplan) • Incidence report, คดีความ • Major Operation • Operation to high risk • Blood transfusion • High alert drug

  24. 3 วิธีการทำTRIGGER TOOL Select High Risk Charts Trigger Reviewed Total Hospital Days Portion of Chart Reviewed AE / 1000 Days AE Identified End Review N Y Harm Category Assigned สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล: การวัดเรื่องความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย

  25. 4 ลงข้อมูลในแบบบันทึก(ตัวอย่าง) สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล: การวัดเรื่องความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย

  26. การนำไปใช้ประโยชน์ • ทราบแนวโน้ม ด้าน Quality + Safety ในภาพรวม ร.พ. (Adverse event) เปรียบเทียบ ภายในทีม, ระหว่างทีม  Bench Marking  รพ.ระดับเดียวกัน • ทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ  ทราบผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพ

  27. การทดลองใช้ Trigger tool CLT OB-GYN ตุ๊กตา Safety goals Indicator ทุก CLT ร่วมกันทำ trigger tool Quality + Safety ของผู้ป่วย ระดับร.พ. ตอบได้แน่ชัดว่า รพ.ของเราดูแลผู้ป่วยได้ปลอดภัย+ดี ระดับไหน วิสัยทัศน์ พันธกิจของ ร.พ.

  28. การทบทวนเวชระเบียนขณะผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาลการทบทวนเวชระเบียนขณะผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาล Quality culture Safety culture RapidResponseteam trigger หา RCA Adverse event CQI Tracer

  29. ขอบคุณค่ะ ขอให้ความดีของทุกคนในการปฏิบัติหน้าที่ ที่เน้นความปลอดภัย+คุณภาพ ส่งผลถึงผู้ป่วย+ผู้ร่วมงาน + แพทย์ทุกคน

More Related