1 / 36

มานพ จิตต์ภูษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) : ตอนที่ 3 : 09. 00 - 16. 30 น. 2 เมษายน 2553 ภาคปฏิบัติการ สำหรับผู้ขับเคลื่อนตัวชี้วัด. มานพ จิตต์ภูษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี.

juliet
Download Presentation

มานพ จิตต์ภูษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA: Public Sector Management Quality Award) :ตอนที่ 3: 09.00 - 16.30 น. 2 เมษายน 2553 ภาคปฏิบัติการ สำหรับผู้ขับเคลื่อนตัวชี้วัด มานพ จิตต์ภูษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 “ วันที่ 1 - 2 เมษายน 2553 เวลา 8.30 – 16.30 น. ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง

  2. กรอบแนวคิด ตอนที่ 3 09.00-12.00 น.แนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ” ระดับจังหวัด ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 การจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร การประเมินองค์กรด้วยตนเอง หมวดที่ 1–หมวดที่ 7 13.00-16.30 น. การประเมินองค์กรด้วยตนเองตามแนว เกณฑ์ PMQA (Self Assessment Report)

  3. แปลงแนวคิดสู่การปฏิบัติแปลงแนวคิดสู่การปฏิบัติ 1.ทำความเข้าใจกรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับจังหวัดปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 2.ทำความเข้าใจ แบบรายงาน 3.การเขียนหมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร 4.การใช้แบบตรวจสอบ (Check list) 5.การติดตามแผนพัฒนาองค์กร

  4. 1. กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

  5. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

  6. ความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2553 ปี 2552 • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของจังหวัดตามเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน • รายหมวด (หมวดภาคบังคับ และหมวด 7) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ปรับปรุงองค์กรในประเด็นที่ไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 52 • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน • เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 54 • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของจังหวัดตามเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน • รายหมวด (หมวดภาคบังคับ และหมวด 7) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน • เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 53 • สิ่งที่ต้องส่งมอบ วันที่ 1 พ.ย. 2553 • รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA • ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • แผนพัฒนาองค์การปี 54 (หมวดที่เหลือ) • แผนพัฒนาองค์การปี 52(30 ม.ค.52) • รายงานแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ แผนพัฒนา • องค์การปี 52 (30 ม.ค.52) • รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • แผนพัฒนาองค์การปี 53 • (หมวดภาคบังคับ)

  7. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้จังหวัดปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการปรำจังหวัดที่ร่วมดำเนินการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง • กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากจังหวัดใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว สำหรับจังหวัดที่ผ่านเกณฑ์ฯอย่างครบถ้วนแล้วจะได้ค่าคะแนนนี้โดยปริยาย 2553

  8. ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัด • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • ให้ดำเนินการเป็นภาพรวมของจังหวัด • การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ • ภาครัฐของจังหวัดให้ครอบคลุมการดำเนินการของ • ทุกส่วนราชการประจำจังหวัดที่เป็นราชการบริหาร • ส่วนภูมิภาค และครอบคลุมถึงหน่วยงานที่อยู่ภายใต้ • สังกัดของส่วนราชการประจำจังหวัดนั้นด้วย

  9. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 การประเมินผลตัวชี้วัด

  10. ตัวชี้วัดที่ 15ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก ร้อยละ 20)

  11. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานจำนวน 2 หมวด ซึ่งแต่ละหมวดแบ่งการดำเนินงานออกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้

  12. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณาจากจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์เทียบกับจำนวนข้อทั้งหมดในแต่ละหมวด แล้วนำผลที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ (หมวด 2 และหมวด 3) อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 2.1 -2.7

  13. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3

  14. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด • จังหวัดที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แล้ว จะได้ค่าคะแนนนี้โดยปริยาย โดยจะใช้ผลการตรวจประเมินปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • จังหวัดที่ ไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับ • พื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7.1 และ 7.2 (ใช้แบบฟอร์มในคู่มือ ปี 52)

  15. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 11.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 2.7

  16. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 15.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้

  17. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 1

  18. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการ การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน สำหรับหมวดที่เลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ให้จังหวัดรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ในแบบฟอร์มที่ 3 : แบบฟอร์มรายงานตัวชี้วัดผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ ทั้งนี้ ให้จังหวัดใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่สำนักงาน ก.พ.ร. จัดส่งให้เป็นเครื่องมือในการประเมินองค์กรด้วยตนเอง อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 2.1 – 2.7

  19. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด เป็นการจัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด โดยใช้แนวทางการจัดทำของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวมทั้ง ให้จังหวัดคัดเลือกตัวชี้วัดผลลัพธ์หรือกำหนดตัวชี้วัดได้เอง รายละเอียดเงื่อนไขปรากฏตามภาคผนวก ข กรณีที่จังหวัดใดยังไม่ผ่านเกณฑ์ฯ บางข้อที่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ให้จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เพิ่มเติมมาด้วย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4.1 และ 4.2

  20. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การรายงานสรุปค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 15 ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมีแนวทางดังนี้

  21. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด แบบฟอร์มที่ 5แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  22. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

  23. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

  24. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • จังหวัดดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การที่จังหวัดได้จัดส่งมายังสำนักงาน ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2552 (ตามแบบฟอร์มที่ 7.1 และ 7.2 ในคู่มือตัวชี้วัดฯ ปี 2552) เพื่อให้แผนดังกล่าวบรรลุเป้าหมายที่กำหนดทั้งในแง่ความครบถ้วนของกระบวนการและความสำเร็จของผลลัพธ์ • สำนักงาน ก.พ.ร. มีระบบสนับสนุน ดังนี้ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ หมวด 1-7 ขั้นตอนที่ 1 คลินิกให้คำปรึกษาแนะนำรายภาค สำนักงาน ก.พ.ร. โดยทีมเจ้าหน้าที่สำนักงาน ก.พ.ร. ที่รับผิดชอบโครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA e-Learning เว็บไซต์ www.opdc.go.th

  25. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. สำนักงาน ก.พ.ร. จะแจ้งผลการประเมินให้จังหวัดทราบภายใน 30 วันทำการ นับแต่วันเข้าตรวจประเมิน ณ จังหวัด (Site Visit) 2. กรณีไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 52 ให้ดำเนินการปรับปรุงองค์กรในประเด็นดังกล่าวให้ครบถ้วนสมบูรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 2. จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาองค์การเพิ่มเติมสำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 และเสนอให้ผู้บริหารของจังหวัดให้ความเห็นชอบโดยไม่ต้องส่งมายังสำนักงาน ก.พ.ร 3. จังหวัดดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การที่ได้จัดทำเพื่อให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (FL) ให้ครบถ้วนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ขั้นตอนที่ 2

  26. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 3.1 การจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร (นำลักษณะสำคัญขององค์กรที่ได้จัดทำตามตัวชี้วัดฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 มาทบทวนให้สอดคล้องกับสภาพที่เปลี่ยนแปลงไป) 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 คำถามที่มีเครื่องหมาย (#) เป็นคำถามบังคับที่จังหวัดต้องตอบคำถาม โดยมีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ จึงจะถือว่าได้ตอบคำถามในข้อนั้น ๆ แล้ว คำถามที่ ไม่มี เครื่องหมาย (#) เป็นคำถามที่จังหวัดต้องตอบคำถาม แต่การตอบคำถามดังกล่าวอาจจะยังไม่มีความสมบูรณ์ก็ได้ ขั้นตอนที่ 3 จังหวัดอธิบายบริบทที่สำคัญขององค์การที่เกี่ยวข้องในแต่ละคำถาม โดยใช้วิธีการพรรณาความ ใช้แผนภาพประกอบ หรือใช้ตาราง ตามความเหมาะสมในแต่ละคำถาม แบบฟอร์มที่ 1 : แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร

  27. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • แบบฟอร์มที่ 1: แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญ • ขององค์กร วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

  28. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • 3.2 การจัดทำรายงานประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด 1-7 • สำหรับหมวดที่เลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ให้จังหวัดรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ในแบบฟอร์มที่ 3 : แบบฟอร์มรายงานตัวชี้วัดผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • ทั้งนี้ ให้จังหวัดใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่สำนักงาน ก.พ.ร. จัดส่งให้เป็นเครื่องมือในการประเมินองค์กรด้วยตนเอง วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 แบบฟอร์มที่ 2 : แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองซึ่งประกอบด้วยแบบฟอร์มที่ 2.1 – 2.7 เรียงจากหมวด 1-7 ตามลำดับ แบบฟอร์มที่ 3 : แบบฟอร์มรายงานตัวชี้วัดผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ

  29. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 2:แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ....................... ....................... ....................... .......................

  30. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • 3.3 การจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ใช้แนวทางเช่นเดียวกับการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 กล่าวคือเป็นแผนรายหมวด และการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยดำเนินการในหมวดที่เหลือ 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 กรณีจังหวัดยังไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จะต้องจัดทำแผนฯเพิ่มเติมมาด้วย แบบฟอร์มที่ 4 : แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

  31. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 4 : แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

  32. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด การรายงานผลรอบ 6 เดือน ให้จังหวัดรายงาน 4. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. ผลการดำเนินการของตัวชี้วัดนี้ในภาพรวมที่แสดงให้เห็นความคืบหน้า ขั้นตอนที่ 4 2. ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการตามแบบฟอร์มคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ (รายงานรวมกับตัวชี้วัดอื่น ๆ) หมายเหตุ : จังหวัดอาจใช้ตัวอย่างการรายงานผลตามภาคผนวก ค ขั้นตอนที่ 5 การตรวจประเมินตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ รอบ 12 เดือน จะเป็นการตรวจสอบการประเมินความสำเร็จที่จังหวัดได้ประเมินตนเองมาว่าตรงตามคะแนนที่ประเมินหรือไม่ 5. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก

  33. ปฏิทินการดำเนินการ

  34. การรายงานผลตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ

  35. การรายงานผลตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • ให้จังหวัดจัดส่งรายงานการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ไปยังสำนักบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. • ภายในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553เอกสารที่จัดส่งประกอบด้วย • แบบฟอร์มที่ 1-5 จำนวน 4 ชุด (เอกสารพร้อมไฟล์ข้อมูลบรรจุในแผ่นซีดีรอม จำนวน 2 แผ่น) • โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ในการประเมินผลในรูปแบบไฟล์ excel(ไฟล์ข้อมูลบรรจุในแผ่นซีดีรอม โดยไม่ต้องจัดพิมพ์มาในรูปของเอกสาร) การส่งมอบงาน

  36. ปฏิบัติการ สำหรับวันที่ 2 เมษายน 2553 ช่วงเช้า 1.ทำความเข้าใจ แบบรายงาน 2.การเขียนหมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร 3.การใช้แบบตรวจสอบ (Check list) ช่วงบ่าย 4.การถ่ายทอดตัวชี้วัดจากระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล (Cascading);Individual scorecard ; SP5,HR1-HR5;RM5) 5.การจัดการความรู้ (Knowledge Management:KM) ; IT7,RM4.3 6.การจัดการความเสี่ยง(Risk Management) ; ตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และ ตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน

More Related