330 likes | 589 Views
กฎหมายการพัสดุและสัญญา. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ. 1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. 2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง.
E N D
กฎหมายการพัสดุและสัญญากฎหมายการพัสดุและสัญญา ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ 1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1. พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 2. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
กฎหมายการพัสดุและสัญญา (ต่อ) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 4. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 5. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 6. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 7. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544 8. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรถราชการ พ.ศ. 2523
สัญญาและหลักประกัน สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจ้างภาครัฐ0 2298 6300-4 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
สัญญา สัญญาหมายถึง การใด อันได้กระทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งเน้นโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลหรือนิติบุคคล ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
รูปแบบของสัญญา 1. เต็มรูป (ข้อ 132) 1.1 ทำสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด 1.2 มีข้อความแตกต่าง เสียเปรียบ/ไม่รัดกุม 1.3 ร่างใหม่ 2. ลดรูป (ข้อ 133)ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง) 2.1 ตกลงราคา 2.2 ส่งของภายใน 5 วันทำการ 2.3 กรณีพิเศษ 2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ (บางกรณี) 3. ไม่มีรูป (ข้อ 133 วรรคท้าย) 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท 3.2 ตกลงราคา กรณีเร่งด่วน ตามข้อ 39 วรรคสอง จะไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้ ส่ง สนง.อัยการสูงสุดพิจารณา
การทำสัญญา (ตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด) • การกำหนดเงื่อนไข • การกำหนดข้อความหรือรายการที่แตกต่าง • จากตัวอย่างของ กวพ. • การร่างสัญญาใหม่ • การทำสัญญาเช่า ที่ต้องผ่าน สนง. อัยการ
เงื่อนไขที่สำคัญของสัญญาเงื่อนไขที่สำคัญของสัญญา 1. ข้อตกลงเรื่องรูปแบบ ปริมาณ จำนวน ราคา2. การจ่ายเงิน (งวดเงิน) 3. การจ่ายเงินล่วงหน้า (ข้อ 68) 4. หลักประกัน 5. การส่งมอบ การตรวจรับ 6. การขยายเวลา งดหรือลดค่าปรับ 7. การปรับ 8. การประกันความชำรุดบกพร่อง
หลักทำเป็นบันทึกข้อตกลงได้ กรณีดังนี้ ซื้อ /จ้าง แลกเปลี่ยน โดยวิธีตกลงราคา หรือ การจ้างที่ปรึกษา คู่สัญญา ส่งของได้ครบถ้วน ภายใน ๕ วันทำการ นับจากทำข้อตกลง การซื้อ / จ้าง โดยวิธีพิเศษตามข้อ ๒๓หรือ ๒๔ (๑)-(๕) การเช่าที่ไม่ต้องเสียเงินอื่นใดนอกจากการเช่า ข้อยกเว้นการจัดหาวงเงินไม่เกิน ๑ หมื่นบาท /การซื้อ/จ้าง โดยวิธี ตกลงราคากรณีจำเป็นเร่งด่วน ตามข้อ ๓๙ วรรคสอง กรณีทำข้อตกลง/ไม่ทำตามแบบสัญญา (ข้อ๑๓๓)
กรณีซื้อ /จ้าง ไม่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน อัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ ๐.๐๑ – ๐.๒๐ ของราคาพัสดุ ที่ยังไม่ได้รับมอบ กรณีงานจ้างก่อสร้าง ที่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน เป็นจำนวนเงินตายตัว อัตราร้อยละ๐.๐๑ -๐.๑๐ของราคางานจ้าง แต่ต้องไม่ต่ำกว่าวันละ ๑๐๐ บาท การจ้างที่ปรึกษา ปรับรายวันในอัตรา/จำนวนตายตัว ร้อยละ ๐.๐๑ – ๐.๑๐ การกำหนดอัตราค่าปรับในสัญญา (ข้อ๑๓๔)
เมื่อครบกำหนดสัญญา /ผิดสัญญาต้องแจ้งการปรับ คิดค่าปรับนับถัดจากวันครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง สงวนสิทธิปรับ เมื่อส่งมอบของ/งาน ไม่ตรงตามสัญญา เงื่อนไขสัญญาซื้อเป็นชุด ให้ปรับทั้งชุด สิ่งของรวมติดตั้ง/ทดลอง/ปรับตามราคาของทั้งหมด การคิดค่าปรับตามสัญญา
1. ....................... กำหนดส่ง 17 ม.ค. 2. การรับมอบและการปรับ ส่ง 14 ม.ค. 1 รับ 20 ม.ค. ส่ง รับ แจ้งให้แก้ไข 2 2 24 ม.ค. 27 ม.ค. ปรับ ลดปรับ
ข้อ 71(4)“ถือว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างได้ส่งถูกต้องตั้งแต่วันที่ได้นำ พัสดุมาส่ง” ......ปรับ ? วัน ครบกำหนด 17 มค. ส่งถูกต้อง 24 ม.ค. ตามสัญญา จะต้องถูกปรับ 18 ม.ค. - 24 ม.ค. = x วัน *กรรมการล่าช้า (เป็นเหตุพิจารณาลดค่าปรับตามระเบียบฯ ข้อ 139) 15 ม.ค. – 20 ม.ค. = Yวัน ...ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ถูกปรับ X – Y = ? วัน การรับมอบและการปรับ (ต่อ)
ซื้อ/จ้าง จากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ จ่ายได้ ๕๐% ซื้อจากต่างประเทศ จ่ายตามที่ผู้กำหนด การบอกรับวารสาร,/สั่งจองหนังสือ/ จ่ายเท่าที่จ่ายจริง ซื้อข้อมูล E /บอกรับสมาชิกInternet ซื้อ/จ้าง วิธีสอบราคา/ประกวดราคา จ่าย ๑๕% (ต้องกำหนดเงื่อนไขไว้ในประกาศด้วย) ซื้อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษ จ่าย ๑๕% การจ่ายเงินล่วงหน้าที่กำหนดในสัญญา(ข้อ ๖๘)
การจ่ายเงินล่วงหน้า กรณีสอบราคา / ประกวดราคา/วิธีพิเศษ ต้องวางหลักประกันการจ่ายล่วงหน้าเป็น - พันธบัตรรัฐบาลไทย หรือ - หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศ ยกเว้นการจ่ายเงินล่วงหน้าค่าซื้อพัสดุ จากต่างประเทศ ค่าบอกรับวารสารฯ ไม่ต้องเรียกหลักประกัน การจ่ายเงินล่วงหน้า-ต้องวางหลักประกัน (ข้อ ๗๐)
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา • หลัก • ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง • ข้อยกเว้น • กรณีจำเป็น ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์ • กรณีแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา(2)การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา(2) • อำนาจอนุมัติแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา • หัวหน้าส่วนราชการ • ** หลักการแก้ไขฯ ** • การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา สามารถที่จะพิจารณาดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะล่วงเลยกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จตามสัญญาก็ตาม แต่อย่างช้าจะต้องดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงก่อนที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ได้ทำการตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างไว้ใช้
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา(ข้อ 139) • อำนาจอนุมัติ • หัวหน้าส่วนราชการ • สาเหตุ(1) เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของราชการ(2) เหตุสุดวิสัย(3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิด
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา(ข้อ 139) • วิธีการ • - คู่สัญญาต้องแจ้งเหตุให้ส่วนราชการทราบภายใน 15 วัน นับแต่เหตุนั้นได้สิ้นสุดลง หากมิได้แจ้งภายในเวลา ที่กำหนด คู่สัญญาจะยกมากล่าวอ้างเพื่อขอลดหรืองด ค่าปรับ หรือขยายเวลามิได้ เว้นแต่กรณี ตาม (1) ซึ่งมีหลักฐานชัดแจ้ง หรือส่วนราชการทราบดี อยู่แล้วตั้งแต่ต้น • - พิจารณาได้ตามจำนวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง
การบอกเลิก หลัก๑)ผิดสัญญา/มีเหตุเชื่อได้ว่า ผู้รับจ้างไม่สามารถทำงานได แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด ๒) มีค่าปรับเกิน๑๐% ของวงเงินทั้งสัญญา เว้นแต่ จะยินยอมเสียค่าปรับ ก็ให้ผ่อนปรนได้เท่าที่จำเป็น การตกลงเลิกสัญญาต่อกันทำได้เฉพาะเป็นประโยชน์ /หรือเพื่อแก้ไขข้อเสียเปรียบของราชการหากปฏิบัติตามสัญญา/ข้อตกลงต่อไป การบอกเลิก /ตกลงกันเลิก สัญญาหรือข้อตกลง(ข้อ ๑๓๗)
หลักประกัน (ข้อ 141) หลักประกันสัญญา หลักประกันซอง • เงินสด • เช็คที่ธนาคารสั่งจ่าย • หนังสือค้ำประกัน ธ • หนังสือค้ำประกัน บ • พันธบัตรรัฐบาล • หลักประกันที่ใช้กับสัญญา • หนังสือค้ำประกันธนาคาร • ต่างประเทศ (กรณีประกวด • ราคานานาชาติ)
การนำหลักประกันซองมากกว่า ๑ อย่าง มารวมกันเพื่อใช้เป็นหลักประกันซองในงานจ้างเหมาเดียวกัน ได้หรือไม่ กวพ. วินิจฉัย * ตามระเบียบฯ ข้อ ๑๔๑ กำหนดว่า “หลักประกันซองหรือหลักประกันสัญญาให้ใช้ หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด” เจตนารมณ์ตามระเบียบฯ ให้เลือกหลักประกันอย่างใดก็ได้ ดังนั้น หากใช้หลักประกันตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๑๔๑ รวมกัน ก็ย่อมกระทำได้
มูลค่าหลักประกัน ร้อยละ 5ของวงเงิน / ราคาพัสดุ ที่จัดหาในครั้งนั้น เว้นแต่ การจัดหาที่สำคัญพิเศษ กำหนดสูงกว่าร้อยละ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 10 * กรณีส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ เป็นคู่สัญญา / ผู้เสนอราคา - ไม่ต้องวางหลักประกัน (ข้อ 143) การคืนหลักประกัน (ข้อ 144) ซอง คืนภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันพิจารณาเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว สัญญา คืนโดยเร็ว / อย่างช้าไม่เกิน ๑๕ วัน นับแต่วันที่คู่สัญญา พ้นข้อผูกพันแล้ว
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535และที่แก้ไขเพิ่มเติม สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจ้างภาครัฐ0 2298 6300-4 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
หลักเกณฑ์การลงโทษผู้ทิ้งงาน (1) 1. ผู้ได้รับคัดเลือกไม่มาทำสัญญา - เสนอราคาทุกวิธี ซึ่งทางราชการสนองรับราคาแล้ว เว้นแต่วิธีตกลงราคา วิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ ที่ไม่มีการยืนราคา และมีการถอนคำเสนอก่อนที่ทางราชการสนองรับ 2. คู่สัญญา/ผู้รับจ้างช่วงไม่ปฏิบัติตามสัญญา - ทำสัญญาหรือข้อตกลงแล้ว ผิดสัญญาและทางราชการบอกเลิกสัญญา 3. คู่สัญญาไม่แก้ไขความชำรุดบกพร่อง - กรณีต้องรับผิดในความชำรุดบกพร่องตามสัญญา หรือแจ้งให้แก้ไขแล้ว ไม่แก้ไข 4. พัสดุตามสัญญา/วัสดุที่ใช้ไม่ได้มาตรฐาน/ไม่ครบถ้วน ทำให้งานเสียหายอย่างร้ายแรง - ต้องรับผิดทุกกรณี ไม่คำนึงถึงการแก้ไข หรือการชดใช้
หลักเกณฑ์การลงโทษผู้ทิ้งงาน (2) 5. งานก่อสร้างสาธารณูปโภค ใช้ของที่มีข้อบกพร่อง/ไม่ได้มาตรฐาน/ไม่ครบถ้วน - ไม่จำเป็นต้องเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง 6. ที่ปรึกษาที่มีผลงานบกพร่อง/ผิดพลาด/ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง - ผลงานที่ทำกับคู่สัญญา 7. ผู้กระทำการขัดขวางการแข่งขันราคา/กระทำการโดยไม่สุจริตในการเสนอราคา - สมยอมกันในการเสนอราคา - เสนอราคาโดยทุจริต - ใช้ชื่อผู้อื่นเสนอราคา - ใช้เอกสารปลอม เอกสารเท็จ 8. เจตนาปกปิดการมีผลประโยชน์ร่วมกัน - มีความสัมพันธ์ทางบริหาร - มีความสัมพันธ์กันในเชิงไขว้กัน - มีความสัมพันธ์ทางทุน
การพิจารณาผู้ทิ้งงานทั่วไปการพิจารณาผู้ทิ้งงานทั่วไป 1. หัวหน้าส่วนราชการรายงานเสนอปลัดกระทรวงพร้อมความเห็นโดยเร็ว - หนังสือเวียนกระทรวงการคลัง - ไม่เกิน 15 วัน 2. ปลัดกระทรวงพิจารณาเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควร ส่งชื่อให้ผู้รักษาการสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน - ไม่เกิน 15 วัน 3. กวพ. เสนอความเห็นว่าสมควรเป็นผู้ทิ้งงาน 4. ผู้รักษาการตามระเบียนพิจารณาสั่งเป็นผู้ทิ้งงาน 5. ผู้รักษาการระบุชื่อผู้ทิ้งงานในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงาน 6. ผู้รักษาการแจ้งเวียนชื่อให้ส่วนราชการและหน่วยงานอื่น ของรัฐทราบ/แจ้งผู้ทิ้งงานทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
การพิจารณาผู้ทิ้งงาน 1. ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องตรวจสอบข้อเท็จจริงว่าบุคคล ดังกล่าว สมควรเป็นผู้ทิ้งงาน หรือไม่ กรณีทิ้งงานทั่วไป ต้องเปิดโอกาสให้ผู้ที่จะถูกลงโทษชี้แจง ภายในกำหนดเวลาไม่น้อยกว่า 15 วัน กรณีมีการขัดขวางการแข่งขันราคา ต้องแจ้งเหตุที่สงสัยไปให้ ผู้เสนอราคา/เสนองานที่ถูกสงสัยทราบ ชี้แจงภายในเวลาที่กำหนด ไม่น้อยกว่า 15 วัน - ชี้แจงด้วยวาจา , ลายลักษณ์อักษร 2. ดำเนินการต่อไปตามหลักเกณฑ์การพิจารณาผู้ทิ้งงานทั่วไป
หมายเหตุ ผู้บริหาร - หุ้นส่วนผู้จัดการ/กรรมการผู้จัดการ/ผู้บริหาร/ ผู้มีอำนาจดำเนินกิจการของนิติบุคคลนั้นๆ ผลการลงโทษผู้ทิ้งงาน 1. ลงโทษนิติบุคคล ถ้าการกระทำเกิดจากผู้บริหาร ลงโทษผู้บริหารด้วย 2. การสั่งลงโทษนิติบุคคล มีผลถึงนิติบุคคลอื่นที่ดำเนินธุรกิจประเภท เดียวกัน ซึ่งมี ผู้บริหารคนเดียวกันด้วย 3. การสั่งลงโทษบุคคลธรรมดา มีผลถึงนิติบุคคลที่บุคคลดังกล่าว เป็นผู้บริหารด้วย
การเพิกถอนผู้ทิ้งงาน 1. ได้ถูกลงโทษตัดสิทธิมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี 2. มิได้กระทำไปด้วยเจตนาทุจริต หรือเป็นการเอาเปรียบ ทางราชการ หากเป็นไปด้วยความประมาทเลินเล่อ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือด้วยความจำเป็นบางประการ 3. เป็นนิติบุคคลที่มีฐานะมั่นคง มีเกียรติประวัติดีมาก่อน 4. ยอมรับและรู้สำนึกความผิดในการกระทำของตน 5. ผู้ถูกลงโทษต้องยื่นคำขอ
1. ยื่นอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อผู้รักษาการตามระเบียบภายใน 15 วัน นับแต่วันรับแจ้งการลงโทษ 2. ชี้แจงข้อเท็จจริง (ถ้ามี) 3. การพิจารณาอุทธรณ์ เป็นไปตามกฏหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง - พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 4. คำสั่งยกอุทธรณ์ โดยผู้มีอำนาจตามกฎหมาย - ผู้อุทธรณ์ มีอำนาจยื่นฟ้องต่อศาลปกครองภายใน 90 วัน ตาม กฎหมาย 5. คำสั่งเพิกถอนการทิ้งงาน (ปฏิบัติตามกฎหมาย) การอุทธรณ์การลงโทษ
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมติดต่อสอบถามเพิ่มเติม สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลางโทร. 02-298-6300-5e-mail : opm@cgd.go.th
กฎหมายการพัสดุและสัญญากฎหมายการพัสดุและสัญญา ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ 1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1. พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 2. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539