800 likes | 1.04k Views
มูลเหตุพื้นฐานในการปฏิรูปองค์กร และแนวทางปฏิรูปการบริหาร. Gp.Capt.Wachira Roengrit 7 Mar 2009. Re-build. Re-structure. Re-think,Re-train. Synergy. Quality. Flexibility. Efficiency. Effectiveness. Re-process. Re-tools. แนวคิดการบริหารองค์กรในยุคของการเปลี่ยนแปลง. S pecific
E N D
มูลเหตุพื้นฐานในการปฏิรูปองค์กรมูลเหตุพื้นฐานในการปฏิรูปองค์กร และแนวทางปฏิรูปการบริหาร Gp.Capt.Wachira Roengrit 7 Mar 2009
Re-build Re-structure Re-think,Re-train Synergy Quality Flexibility Efficiency Effectiveness Re-process Re-tools แนวคิดการบริหารองค์กรในยุคของการเปลี่ยนแปลง Specific Measurable Attainable Rational Timely Charter Vision/Mission Objective/Strategy/Policy Quality Assurance Culture/ Paradigm/ HR Structure Shared Vision/Value Process & Systems Tools Productivity Improvement KMUTT’s Home Model แบบจำลองรูปบ้าน ในการปฏิรูปองค์กร Monitoring & Evaluation System Continuous Improvement
วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์/นโยบาย มูลเหตุพื้นฐานในการปฏิรูปองค์กร มูลเหตุเชิงระบบด้านทิศทางองค์กร • วิสัยทัศน์ ไม่ชัดเจน/เข้าใจไม่ตรงกัน • วิสัยทัศน์ ขาดการยอมรับ/การมีส่วนร่วม • แผนกลยุทธ์ ไม่สอดคล้องกับองค์กร/ไม่สัมพันธ์กัน • นโยบาย ไม่สามารถกระจายสู่ภาคปฏิบัติได้ แนวทางการปฏิรูปการบริหารองค์กร • ทิศทางองค์กรต้องชัดเจน สอดคล้อง เข้าใจตรงกันและยอมรับทุกฝ่าย
โครงสร้าง มูลเหตุพื้นฐานในการปฏิรูปองค์กร มูลเหตุเชิงระบบด้านโครงสร้าง • โครงสร้างองค์การ/การบริหารไม่คล่องตัว • โครงสร้างหน่วยงาน ไม่ครบ/ไม่สอดคล้องกับแผน • โครงสร้างคณะกรรมการ สัดส่วนไม่เหมาะสม • โครงสร้างเงินเดือน/ผลตอบแทน ไม่จูงใจ • โครงสร้างอัตรากำลัง ไม่เหมาะสม • โครงสร้างไม่เอื้อต่อการสื่อสาร และแลกเปลี่ยนข้อมูล
โครงสร้าง Re-structure แนวทางการปฏิรูปการบริหารองค์กร • การปรับโครงสร้างองค์กร • บริหารภายใต้ปริมาณงานและอัตรากำลังที่เหมาะสม (Right Sizing) • สัดส่วนกรรมการบริหารที่เหมาะสม • โครงสร้างเงินเดือนใหม่ที่จูงใจ แข่งขันได้ และสอดคล้องกับองค์กร • Job Description ที่ชัดเจน • Flat Organization ในหน่วยงานที่เหมาะสม
โครงสร้าง Re-structure แนวทางการปฏิรูปการบริหารองค์กร(ต่อ) • การสร้างหน่วยกลยุทธ์ เพื่อให้องค์กรสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง เป็นหน่วยงานมืออาชีพที่มีสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานสูง (High Performance Organization) • การจัดตั้ง KMUTT Strategic Cluster – กลุ่มยุทธศาสตร์ มจธ. • ศูนย์สารสนเทศเชิงยุทธศาสตร์ (IP-Intelligence Portal) • ศูนย์นวัตกรรมนโยบาย (PI-Policies Innovations) • หน่วยวิจัยมหาวิทยาลัย (UR-University Research) • ศูนย์นวัตกรรมระบบ (SI-Systems Innovations) กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
กระบวนงาน เทคโนโลยี สารสนเทศ มูลเหตุพื้นฐานในการปฏิรูปองค์กร มูลเหตุเชิงระบบ • ระบบบริหาร ที่ขาดประสิทธิภาพ • ระเบียบ/ข้อบังคับ/ประกาศ ไม่เอื้อต่อการทำงาน • ระบบงานต่างๆ ตอบสนองไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน • แผนแม่บท IT ไม่สอดคล้องแผนกลยุทธ์องค์กร • ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ ไม่เอื้อต่อการตัดสินใจ • ระบบติดตามประเมินผล ไม่ได้นำมาใช้อย่างจริงจัง/ ไม่มีความต่อเนื่อง
กระบวนงาน Re-process แนวทางการปฏิรูปการบริหารองค์กร • การรื้อปรับกระบวนงาน • ปรับปรุงระเบียบข้อบังคับในการทำงาน (Deregulation) • Contracting Out & Outsourcing • วิเคราะห์ภารกิจ เพื่อปรับปรุง ลดทอนขั้นตอน ( Work Simplification ) • สร้างคู่มือ และเกณฑ์วัดผลที่ชัดเจน (Operation Manual, Procedure Manual, Work Flow, and Work Instruction ) • การประกันคุณภาพทั้งระบบเพื่อมุ่งสู่ Thailand Quality Award (TQA) • เพิ่มผลิตภาพ (PI) เพื่อนำไปสู่ Continuous Improvement
เทคโนโลยี สารสนเทศ Re-tools แนวทางการปฏิรูปการบริหารองค์กร • การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้อย่างเหมาะสม • จัดทำแผนแม่บท ICT • จัดทำระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) • การเพิ่มศักยภาพการใช้ IT ให้กับบุคลากรในระดับต่างๆ • การประสานความร่วมมือองค์กรที่ให้บริการด้าน IT
บุคลากร/ วัฒนธรรม มูลเหตุพื้นฐานในการปฏิรูปองค์กร มูลเหตุเชิงบุคคล • วัฒนธรรมองค์กร (Corporate Culture) • ขาดภาวะผู้นำ (Leadership) • ขาดวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) • ขาดทักษะการมองเชิงวิสัยทัศน์ (Vision) • ขาดทักษะในการจัดการเชิงระบบ (Systems Management) • ขาดการเอื้ออำนาจ (Empowerment) • ขาดความไว้วางใจซึ่งกันและกัน
บุคลากร/ วัฒนธรรม มูลเหตุพื้นฐานในการปฏิรูปองค์กร(ต่อ) • ขาดการตัดสินใจ(Decision Making)ที่ทันท่วงที • ขาดทักษะและความสามารถในการแข่งขัน • ยึดติด กลัวการเปลี่ยนแปลง และกลัวสูญเสียประโยชน์ • ขาดสำนึกของความเป็นเจ้าของ ความรับผิดชอบ การประกันคุณภาพฯลฯ
บุคลากร/ วัฒนธรรม Re-think, Re-train แนวทางการปฏิรูปการบริหารองค์กร • สร้างวัฒนธรรมใหม่ • การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) • การพัฒนาบุคลากรให้สามารถคิดเชิงกลยุทธ์ • การประเมิน (Assessment) • การเอื้ออำนาจและการมีส่วนร่วม (Empower & Participation) • การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) • การเป็นเจ้าของ (Ownership) • การมีจิตสำนึกร่วม (Shared Value) • สร้างความมุ่งมั่น ความมั่นใจแห่งองค์กร
ระบบการติดตามและวัดผลการดำเนินงานระบบการติดตามและวัดผลการดำเนินงาน แนวทางการปฏิรูปการบริหารองค์กร • สร้างกลไกกลุ่มประสาน และติดตามผล • การใช้กลไกของผู้ประสาน หรือกลุ่มประสาน • เพื่อติดตาม กระตุ้น และเชื่อมความสัมพันธ์ของโครงการต่างๆ หรือคณะกรรมการชุดต่างๆ ให้เกิดภาพของความสอดคล้อง ความสัมพันธ์ เชิงบูรณาการ • รายงานผล หรือปัญหาผ่านระบบสื่อสารที่ดี ให้ผู้บริหารโครงการรับทราบ ตัดสินใจ ผ่าน ศูนย์สารสนเทศเชิงยุทธศาสตร์
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ(Key Success Factors) • การมีแผนกลยุทธ์ที่ชัดเจน เป็นที่ยอมรับ ต่อเนื่อง • ความกล้าหาญในการตัดสินใจที่ทันท่วงที จากผู้บริการระดับสูง • การสร้างหน่วยกลยุทธ์ที่มีความสอดคล้องประสาน • การสร้างบรรยากาศ องค์กรที่ใฝ่เรียนรู้ • การให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างต่อเนื่อง • การสร้างกลไกที่บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วม • การสร้างอุดมการณ์ร่วมให้เกิดขึ้นในองค์กร • การพัฒนาบุคลากร อันเป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุด
การบริหารเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาองค์การ Strategic Management for Organization Development
ความสัมพันธ์ของ การบริหารกลยุทธ์ทั่วทั้งองค์กร(TCSMS)กับระบบบริหารกลยุทธ์(SMS) และ ระบบบริหารคุณภาพ(QMS) TCSMS BSC SMS QMS
ระบบบริหารกลยุทธ์ทั่วทั้งองค์กรระบบบริหารกลยุทธ์ทั่วทั้งองค์กร Total Corporate Strategies Management System (TCSMS) SMS QMS QC QA ISO TQM SWOT Vision Mission Goal/Objectives
Quality Management System (การบริหารเชิงคุณภาพ) What is QMS ? STRATEGY 1.System Approach 2. PDCA-SDCA 3. Autonomous 4. Internal Service Supplies Chain 4. Market In ทำอย่างไรจึงจะทำให้บุคลากรมี Quality Mind and Strategy Mind
1. System Approach มุ่งเน้นที่ระบบ QC QC ผลผลิต QA ผลลัพธ์ Input Process Output Outcome -ไข่ - หมู -น้ำมัน -น้ำปลา -พริกไทย -อุปกรณ์ -แม่ครัว เตรียมไข่ KPI ไข่เจียวหมูสับ - อร่อย - สะอาด - ปลอดภัย KPI - ยอดขาย - ชื่อเสียง - กำไร - ความพึงพอใจ ติดเตา Standard เจียว No ชิม Yes เสริฟ
A A A A P S P S C C C C D D D D 2. PDCA/SDCA—3. Autonomous Plan Do Check Action - Standard Do Check Action Standardization Continual Improvement - มีมาตรฐาน Old/new - คนทำตามมาตรฐาน - คนต้องพัฒนามาตรฐาน
3. Internal Service Supply Chain : ISSC จัดซื้อ ครัว เสิร์ฟ แคชเชียร์ Cross Functional KPI S C S C ความพึงพอใจ ของลูกค้า S C Functional KPI C = Customer , S = Supplierงานบริการ/ลูกค้าผู้ส่งมอบ
4. Market - In ต้องรู้ว่าลูกค้าต้องการอะไร นำความต้องการสู่การปฏิบัติ ส่งมอบงาน / บริการที่มีคุณภาพ ประเมินผลเพื่อวัดความพึงพอใจ
หัวใจของการบริการลูกค้าภายนอกหัวใจของการบริการลูกค้าภายนอก เริ่มที่การตอบสนองลูกค้าภายใน ถ้าหน่วยงานภายในยังไม่สามารถบริการกันได้อย่างมีคุณภาพแล้ว อย่าคาดหวังว่า หน่วยงานภายนอก / ลูกค้า จะได้รับบริการที่มีคุณภาพกลับไป
Strategic Management System (การบริหารเชิงกลยุทธ์) What is SMS ? STRATEGY Needs Analysis 4. Goal 1. SWOT 3. Mision 2. Vision ทำอย่างไรจึงจะทำให้บุคลากรมี Quality Mind and Strategy Mind
หลักที่สำคัญคือต้อง Management By Fact ของจริง สถานที่จริง เหตุการณ์จริง Policy Needs Study + Analysis SWOT Stakeholder Needs Business Needs หลีกเลี่ยงประสบการณ์ ความกล้า และลางสังหรณ์
ความหมายของ SWOT S = Strength จุดแข็งหรือจุดเด่นภายในองค์กรที่ทำให้ 3 needs บรรลุผลสัมฤทธิ์ W = Weakness จุดอ่อนหรือข้อด้อยภายในองค์กรที่ทำให้ 3 needs ไม่บรรลุผลสัมฤทธิ์ O = Opportunity โอกาสหรือปัจจัยส่งเสริมจากภายนอกที่ทำให้ 3 needs บรรลุผลสัมฤทธิ์ T = Threat อุปสรรคหรือภาวะคุกคามจากภายนอกที่ทำให้ 3 needs ไม่บรรลุผลสัมฤทธิ์
ลักษณะของวิสัยทัศน์(Vision)ลักษณะของวิสัยทัศน์(Vision) - อยากจะเป็นในอนาคต - สั้นๆ กระชับได้ใจความ - วัดได้ - ท้าทาย (ทำให้เป็นจริงได้) - มุ่งมั่น (ทุกคนเป็นเจ้าของ) - สอดคล้อง 3 Needs - นำไปสู่การปฏิบัติ - Stakeholder รู้และเข้าใจ
ตัวอย่างวิสัยทัศน์ และCSF องค์กรที่ปรึกษาด้านยุทธศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับระดับโลก 1.องค์กรที่ปรึกษาด้านยุทธศาสตร์ 2.การยอมรับระดับโลก พันธมิตรเครือข่าย การปรึกษา IT Network ผู้เชี่ยวชาญ CSFs
ลักษณะที่สำคัญของ Mission 1. ทำอะไรBy Job/Routine CSFs ของ Vision (ภาระในระยะยาว) 2. ชัดเจนไม่คลุมเครือ 3. เป็นกรอบ/แนวทางให้กับหน่วยงานถัดไป (ในสายงานเดียวกัน) 4. 3 Needs
เป้าประสงค์(Goal) Goal เพื่อบรรลุเป้าประสงค์ • วัดได้ • ผลลัพธ์ • นำไปสู่การออกแบบและพัฒนาแผนกลยุทธ์ เราต้องทำอะไร : Mission เราอยากเป็นอะไร : Vision
Vision Mission Goal Strategy Knowledge Skill Behavior Standard Man Competency Strategy J.D. SJD No Development Evaluation Yes Result Yes Evaluation Implement Individual KPI No Rotation New job Early retirement Pay Per Performanced compensation ระบบบริหารกลยุทธ์ทั่วทั้งองค์กร กับ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร
Answer: ประสาน เชื่อมโยงทรัพยากรอย่างสมดุลย์! คำถาม:องค์กรภาครัฐจะประสบความสำเร็จในการบริหารองค์กรเชิงกลยุทธ์ได้อย่างไร? STRATEGY การจัดองค์กร ความรู้ ความสามารถของทีมบริหาร ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม บุคคลากรที่มีคุณภาพ การบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ The Balanced Scorecard เป็นเครื่องมือที่ประสานกระบวนการ ทรัพยากร วิธีการต่างๆในองค์กรให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันด้วยเป้าหมายเดียวกัน อย่างเป็นรูปธรรม
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
1.การวางแผน (Strategic Formulation) 2.การนำแผนไปปฏิบัติ (Implementation) 3.การติดตามและประเมินผล (Assessment & Control) กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์
กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ • (Strategic Formulation) คำถามที่ 1 วิธีการ / เครื่องมือ ผลลัพธ์ ปัจจุบันการดำเนินการ ของธุรกิจเป็นอย่างไร (Where are we now ?) วิเคราะห์ * สภาวะแวดล้อมภายนอก (เศรษฐกิจ การเมือง สังคม เทคโนโลยี) * วิเคราะห์การแข่งขัน * การบริหารงานด้านต่างๆ *วิเคราะห์ลูกค้า * S จุดเด่น (Strengths) * W จุดด้อย (Weaknesses) * O โอกาส (Opportunities) * T อุปสรรค (Threats)
กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์(ต่อ)กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์(ต่อ) วิธีการ คำถามที่ 2 ผลลัพธ์ * วิสัยทัศน์ * ภารกิจ * กุญแจแห่งความสำเร็จ * วัตถุประสงค์ ในอนาคต เราต้องการไปที่ใด (Where do we want to be ?) นำผลลัพธ์จาก SWOT มาเป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการกำหนดทิศทางกิจการ คำถามที่ 3 วิธีการ / เครื่องมือ ผลลัพธ์ ทำอย่างไร จึงจะไปถึงจุดนั้น (How will we get there ?) * กลยุทธ์องค์กร * กลยุทธ์ธุรกิจ * กลยุทธ์ปฏิบัติการ * งบประมาณ * BSC *Benchmarking
วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์/นโยบาย Philosophy /Value SWOT Analysis การวิเคราะห์ สภาพบริบท ทั้งภายใน และ ภายนอกองค์กร จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค การยึดมั่นในปรัชญาและอุดมการณ์ Key Performance Indicator Plan/Project ภาพรวมแนวทางการวางแผนกลยุทธ์ เป็นองค์กรแบบใด ในอนาคต ต้องการบรรลุถึงจุดหมายใด Vision องค์กรต้องทำอะไร ถึงจะบรรลุวิสัยทัศน์ Mission วัตถุประสงค์หรือ เป้าหมายที่จะบรรลุ Objectives กลยุทธ์หรือวิธีการ ที่จะบรรลุวิสัยทัศน์ Strategies แนวทางที่ผู้บริหาร กำหนดให้ถือปฏิบัติ Policy แผนงานหรือโครงการ ที่จะทำให้วิสัยทัศน์เป็นจริง ดัชนีชี้วัดความสำเร็จของงาน
Strategic Planning Tools & Techniques C S F K S F K P I V ALUE SWOT Analysis Value chain Analysis Five Forces Model Analysis Vision Mission Objective/ Policy SWOT Analysis Strategic Plan TOWS Matrix Operational Plan
กลยุทธ์ หมายถึงหนทางหรือวิธีการที่จะนำไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ กลยุทธ์ เป้าหมาย ในอนาคต องค์การ ปัจจุบัน
ความหมายของการบริหารเชิงกลยุทธ์ความหมายของการบริหารเชิงกลยุทธ์ • การวางแผนการดำเนินงานและควบคุมใน • แนวทางเชิงกลยุทธ์ ซึ่งจะช่วยให้การ • บริหารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ • กระบวนการวางแผนการดำเนินงานโดยใช้ • กลวิธีต่างๆอย่างมีชั้นเชิง สำหรับการ • ปฏิบัติงานและควบคุม เพื่อให้องค์การบรรลุ • ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
คุณสมบัติของผู้บริหารที่ทำหน้าที่กำหนดกลยุทธ์คุณสมบัติของผู้บริหารที่ทำหน้าที่กำหนดกลยุทธ์ 1.เป็นบุคคลที่มีความรอบรู้ในธุรกิจชนิดนั้น เป็นอย่างดี 2.เป็นบุคคลที่มองการณ์ไกลมีวิสัยทัศน์ดี 3.เป็นบุคคลที่มีความเชื่อมั่นในตนเอง 4.เป็นบุคคลที่มีความอดทนไม่ท้อแท้ 5.เป็นบุคคลที่มีมนุษย์สัมพันธ์ดี
ความสำคัญของการบริหารเชิงกลยุทธ์ความสำคัญของการบริหารเชิงกลยุทธ์ * องค์กรอยู่ภายใต้อิทธิพลสภาพแวดล้อมที่ ซับซ้อนเปลี่ยนแปลงมาก * วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อนอุปสรรค และโอกาส ได้ถูกต้อง * ทำให้องค์กรสามารถปรับตัวและดำรงต่อไปได้
ขั้นตอนของการบริหารเชิงกลยุทธ์ขั้นตอนของการบริหารเชิงกลยุทธ์ • การวางแผนกลยุทธ์ • ( Strategic Formulation ) • 2. การปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ • ( Strategic Implementation ) • 3. การประเมินผลกลยุทธ์(ผู้ปฏิบัติ 100%) • (Strategic Assessment) • 3.
วางแผน กลยุทธ์ ประเมินผล กลยุทธ์ ปฏิบัติตาม แผนกลยุทธ์ ขั้นตอนของการบริหารเชิงกลยุทธ์
การควบคุมและประเมินกลยุทธ์ กำหนด มาตรฐาน การวัดผล การดำเนินงาน การดำเนิน การแก้ไข เปรียบเทียบผล กับมาตรฐาน
ระดับของกลยุทธ์ ( Levels of Strategy ) แบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ 1. Corporate Strategy 2. Business Strategy 3. Functional Strategy
Corporate level Business level Functional level กลยุทธ์ระดับบริษัท กลยุทธ์ระดับ ธุรกิจ กลยุทธ์ระดับ ธุรกิจ กลยุทธ์ระดับ ธุรกิจ กลยุทธ์ระดับ หน้าที่การขาย กลยุทธ์ระดับ หน้าที่การขาย กลยุทธ์ระดับ หน้าที่การขาย