1 / 12

การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. เขื่อนภูมิพล. พื้นที่การบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำปิง. ลุ่มน้ำปิง. ครอบคลุมพื้นที่รับน้ำฝน 34, 85 6 ตารางกิโลเมตร.

Download Presentation

การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการการพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  2. เขื่อนภูมิพล พื้นที่การบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำปิง

  3. ลุ่มน้ำปิง ครอบคลุมพื้นที่รับน้ำฝน 34,856 ตารางกิโลเมตร ลุ่มน้ำปิงตอนล่าง มีพื้นที่รับน้ำฝน 9,511 ตารางกิโลเมตร หรือ 27 % ของพื้นที่ลุ่มน้ำปิงทั้งหมด ประกอบด้วย ลุ่มน้ำสาขา 6 ลุ่มน้ำ

  4. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สัดส่วนปริมาณน้ำผิวดินในลุ่มน้ำปิงตอนล่าง ปริมาณน้ำจากลุ่มน้ำวัง (1,509.05 ล้าน ลบ.ม./ปี) ลุ่มน้ำสาขาที่มีปริมาณน้ำมาก ได้แก่ แม่น้ำวัง, แม่น้ำปิงตอนล่าง มีปริมาณน้ำรวม 22.7% ของปริมาณน้ำในลุ่มน้ำปิง (ปริมาณน้ำในลุ่มน้ำปิง ทั้งหมด 10,552.8 ล้าน ลบ.ม./ปี 3,737.67 ล้าน ลบ.ม./ปี (ไม่รวมปริมาณน้ำจากเขื่อนภูมิพล)

  5. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พื้นที่ชลประทานปัจจุบันในลุ่มน้ำปิงตอนล่าง ปิงตอนล่าง

  6. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลุ่มน้ำปิงตอนล่าง เก็บกักได้ 25.41ล้าน ลบ.ม. ไหลลงแม่น้ำน่าน 3,712.26 ล้าน ลบ.ม./ปี ปริมาณการใช้น้ำในลุ่มน้ำ 2,662.63ล้าน ลบ.ม./ปี INFLOW 3,737.67 ล้าน ลบ.ม./ปี ความจุเก็บกักเขื่อนภูมิพล 13,462 ล้าน ลบ.ม.

  7. สภาพปัญหาในลุ่มน้ำปิงตอนล่างสภาพปัญหาในลุ่มน้ำปิงตอนล่าง อ.แม่แจ่ม 1. ความยากจน : มูลค่ารวมผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อหัว 38,317-46,527 บาท/คน/ปี (ต่ำกว่ามูลค่ารวมผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อหัวของประชากรของประเทศ ปี 2543: 78,591 บาท/คน/ปี) 2. อุทกภัย ในลุ่มน้ำสาขา และบริเวณจุดบรรจบแม่น้ำวัง และแม่น้ำน่าน 3. ความเสียหายทางสังคมสืบเนื่องจากความยากจน เช่น การย้ายถิ่นฐาน ยาเสพติด อาชญากรรม ฯลฯ

  8. ลุ่มน้ำวิกฤต

  9. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1. ก่อสร้างอ่าง/ฝาย เปิดพื้นที่ชลประทานใหม่ 2,219.69 350.00 232,800.00 - 59 - 2. 16,400.00 45 ปรับปรุงอ่าง/ฝาย พัฒนาพื้นที่รับประโยชน์เดิม 352.27 - - - 3. - - 1,400.00 ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน้ำชุมชนแก้มลิง 2 20.00 - 4. สระเก็บน้ำชุมชน (บ่อละ 200,000 ลบ.ม.) - - - - - - สูบน้ำด้วยไฟฟ้า 5. - - 7 70.00 - 9,500.00 6. - - - - - - 7. โครงการผันน้ำ - - - - - อื่นๆ - 350.00 2,661.96 รวม 113 258,700.00 1,400.00 - แผนงานโครงการพัฒนาแหล่งน้ำและการระบายน้ำลุ่มน้ำปิงตอนล่าง ปี 2549-2552

  10. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปิงตอนล่าง

  11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • เพิ่มพื้นที่ชลประทานประมาณ 258,700 ไร่ รายได้เฉลี่ยต่อปีของประชากรในลุ่มน้ำยมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยเป็น 6,000 บาท/ไร่/ปี รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,552.2 ล้านบาทต่อปี เป็นการช่วยขจัดปัญหาความยากจนตามนโยบายของรัฐบาล • ลดความเสียหายเนื่องจากอุทกภัยมูลค่าไม่ต่ำกว่า 300 ล้านบาทต่อปี • 3. ลดผลกระทบทางด้านสังคมเนื่องจากปัญหาความยากจน เช่น การย้ายถิ่นฐานของประชากร ครอบครัวแตกแยก ปัญหายาเสพติด อาชญากรรม ฯลฯ ซึ่งไม่อาจสามารถประเมินเป็นมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ได้

  12. จบการนำเสนอ

More Related