1 / 26

โดย อ . นัฐพงศ์ ส่งเนียม สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ และ สาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์

วิชา :: การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 Lec03 : แนะนำหลักการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic .net 2005. โดย อ . นัฐพงศ์ ส่งเนียม สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ และ สาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร http://www.siam2dev.com xnattapong@hotmail.com

justis
Download Presentation

โดย อ . นัฐพงศ์ ส่งเนียม สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ และ สาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชา :: การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1Lec03 : แนะนำหลักการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic .net 2005 โดยอ. นัฐพงศ์ส่งเนียม สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร http://www.siam2dev.com xnattapong@hotmail.com xnattapong2002@yahoo.com

  2. Agenda แนะนำ vb.net Visual Programming คืออะไร Event Driven คืออะไร Winform Webform Properties Method Event

  3. การเรียกโปรแกรม MS-studio.net ขึ้นมาใช้งาน • กดที่ Start • เลือก Program • เลือก microsoft visual studio.net2005 • เลือก microsoft visual studio.net2005 อีกครั้งหนึ่ง

  4. จะปรากฏหน้าแรก เมื่อเข้าสู่โปรแกรม ดังรูป

  5. ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม MS-Studio.NET2005 Title Bar Menu Bar Tool Bar Status Bar Start Page Solution Toolbox Properties Windows Code view

  6. ส่วนประกอบที่สำคัญของหน้าต่างโปรแกรม Microsoft Visual Studio.net Start Page Solution Explorer

  7. การสร้าง Project ใหม่ • การสร้าง Project ของ VB.NET ขึ้นมาใหม่นั้นโดยปกติสามารถทำได้ 2 วิธี ดังนี้ • วิธีที่ 1 • ไปที่เมนู File >> New >> Project • วิธีที่ 2 • Click ที่ Start Page >> เลือกแถบ Project >> แล้วกดที่ปุ่ม New Project

  8. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง New Project ขึ้นมาดังรูป • โดย มีรายละเอียดดังนี้ • Project Type • หมายถึง เลือกชนิดของ ภาษาที่เราต้องการสร้าง Project ในที่นี้ก็ให้เลือก Visual Basic Project • Templates • หมายถึง ประเภทของ Project ที่เราต้องการจะสร้างขึ้นมาใช้งาน หากเราต้องการจะสร้างโปรแกรมที่จะทำงานอยู่บนวินโดวส์ ก็ต้องเลือก เป็น Windows Application ดังรูป

  9. หน้าต่าง New Project (ต่อ) • ตรงช่อง Name นั้นให้เราใส่ชื่อของโปรเจ็กต์ที่ต้องการจะสร้างขึ้นมา โดยในที่นี้ ผม จะตั้งชื่อว่า “FirstProject” • ส่วนในช่องของ Location นั้นหมายถึงตำแหน่งที่อยู่ของไฟล์โปรเจ็กต์ทั้งหมดที่เราต้องการจะเก็บข้อมูลไฟล์ไว้ ซึ่งหากเรา ยังไม่ได้เคยสร้างโฟลเดอร์ไว้ก่อนหน้านี้ VB.NET ก็จะสร้างโฟลเดอร์นี้ให้เราโดยอัตมัติ • จากนั้นก็กด OK ได้เลย

  10. หลังจากสร้างโปรเจ็กต์ใหม่แล้ว ก็จะเข้าสู่โปรแกรมของเราดังรูป • โดย VB.NET จะสร้าง สิ่งที่เรียกว่า Form ขึ้นมาให้เราใช้งานดังรูป

  11. Form แนะนำ Form การเพิ่ม Form การเปลี่ยนชื่อ Form การลบ Form ออกจากโปรแจ็กต์ การกำหนดให้ Form เป็นฟอร์มแรกของ โปรเจ็กต์ คุณสมบัติต่าง ๆ ของ Form เหตุการณ์ต่าง ๆ ของ Form

  12. แนะนำ Form • Form คืออะไร • Form หมายถึง พื้นที่ของโปรแกรมที่เราจะต้องมีในการทำงานของโปรแกรมที่ทำงาอยู่บนวินโดวส์ทุกโปรแกรม • จกรูปนี้ ส่วนที่เป็นสีเทา ก็คือฟอร์มนั่นเอง

  13. การเพิ่ม Form • โดยปกติ Project หนึ่ง ๆ อาจมีฟอร์มได้หลายฟอร์ม โดยเราจะมีวิธีการเพิ่มฟอร์มได้ดังนี้ • ไปที่ Menu Project • เลือก Add Window Form • จะปรากฏหน้าต่างดังรูป • ให้เราพิมพ์ชื่อฟอร์มที่ต้องการ ในที่นี้จะถูกต้องเป็น Form2 โดยอัตโนมัติ แต่เราสามารถตั้งชื่อของฟอร์มใหม่นี้ได้ตามต้องการ

  14. หลังจากเพิ่ม Form แล้วจะปรากฏชื่อฟอร์มที่ในหน้าต่าง Solution ดังรูป • ซึ่งในหน้าต่าง Solution นี้เอง จะมีหน้าที่ในการจัดการกับ Form ต่าง ๆ ในการเพิ่มลบ หรือเปลี่ยนชื่อ ของ ทั้ง Project , Form และ Module • โดยการ Click mouse ขวาที่ Object ที่ต้องการ

  15. ชื่อของ Form • Form จะมีชื่อของฟอร์มอยู่ 2 อย่างด้วยกัน • 1 ชื่อฟอร์มที่เราใช้ในการอ้างอิงถึงเมื่อเขียนคำสั่งหรือเขียนโค้ด หรือ ตอนที่เราจะกำหนดให้แสดง ฟอร์มนี้ขึ้นมาในตอนแรกสุดเมื่อมีการรันโปรแกรม โดยการเปลี่ยนชื่อฟอร์มวิธีนี้จะกำหนดในช่อง Name ของหน้าต่าง Properties นั่นเอง • 2 ชื่อฟอร์มที่ถูกใช้ในการ Save เป็นไฟล์ข้อมูลของ Form ซึ่งจะมีนามสกุล เป็น .vb ต.ย. Form1.vb ซึ่งสามารถสังได้จากหน้าต่าง Solution

  16. ฟอร์ม และการกำหนดคุณสมบัติของฟอร์ม • คุณสมบัติของฟอร์มนั้นมีมากมาย แต่ที่สำคัญและควรรู้จักมีดังนี้ • Name • BackColor • BackgroundImage • Cursor • Enabled • Font • ForeColor • FormBorderStyle • MiniMizeBox • MaxiMizeBox • StartPosition • Text • WindowState

  17. คุณสมบัติ ของ Form (ต่อ) • Name • เป็นคุณสมบัติที่ใช้สำหรับการกำหนดชื่อของฟอร์ม เพื่อใช้ในการอ้างอิงในโปรแกรม • ควรตั้งชื่อให้สื่อความหมาย • โดยต้องตั้งตามหลักการตั้งชื่อ ทั่ว ๆ ไป • ต้องไม่ขึ้นต้นด้วยตัวเลข เช่น ห้ามตั้งเป็น 50FrmTest • ห้ามมีช่องว่างระหว่างชื่อ เช่น ห้ามตั้งเป็น Frm Test • ต้องไม่มีเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ในชื่อฟอร์ม เช่น ห้ามตั้งเป็น Frm+Test • ห้ามซ้ำกับคำสงวนของ VB.NET เช่น ห้ามตั้งเป็น For

  18. ต.ย. การกำหนดคุณสมบัติ Name ของฟอร์ม จากหน้าต่าง Properties จะตั้งชื่อว่า FrmTest1

  19. คุณสมบัติ ของ Form (ต่อ) • Backcolor • เป็นคุณสมบัติที่ใช้สำหรับการกำหนดสีของพื้นหลังของฟอร์ม • ซึ่งจะมี 3 รูปแบบให้เลือกคือ • System • Custom • Web • ไม่ควรใช้สีที่มี สีสันมากเกินไป จะทำให้ ผู้ใช้งานโปรแกรมเรา ปวดสายตาได้

  20. ต.ย. การกำหนด BackColor ของฟอร์ม

  21. คุณสมบัติ ของ Form (ต่อ) • BackgroundImage • เป็นคุณสมบัติที่ใช้สำหรับการกำหนดรูปภาพให้เป็นรูปพื้นหลังของฟอร์ม • ดังรูป

  22. คุณสมบัติ ของ Form (ต่อ) • Cursor • เป็นคุณสมบัติที่ใช้สำหรับการกำหนด เคอร์เซอร์เมาส์เป็นรูปต่าง ๆ ซึ่งมีให้เลือกอยู่หลายแบบด้วย ดังรูป

  23. คุณสมบัติ ของ Form (ต่อ) • Text • เป็นคุณสมบัติที่ใช้สำหรับการกำหนด ข้อความที่จะปรากฏอยู่บนแถบไตเติ้ลบาร์ของฟอร์ม ดังรูป

  24. คุณสมบัติ ของ Form (ต่อ) • Startposition • เป็นคุณสมบัติที่ใช้สำหรับการกำหนด ตำแหน่งของฟอร์มเมื่อ รันโปรแกรมว่าจะต้องการให้ฟอร์มปรากฏอย่างไร โดยจะมี 5 แบบให้เลือก ดังนี้ • Manual • CenterScreen • WindowsDefaultLocation • WindowsDefaultBounds • CenterParent

  25. คุณสมบัติ ของ Form (ต่อ) • WindowState • เป็นคุณสมบัติที่ใช้สำหรับการกำหนด ขนาดของฟอร์มเมื่อ รันโปรแกรมว่าจะต้องการให้ขนาดของฟอร์มเป็นแบบไหน โดยจะมี 3 แบบให้เลือก ดังนี้ • Manual :: • ตามขนาดเดิมที่เรากำหนด • Maximize • ขนาดใหญ่สุด เต็มจอภาพ • Minimize • ขนาดเล็กสุด ย่อเล็กสุด นั่นเอง

  26. Any Question ?

More Related