1.6k likes | 2.16k Views
วิชา การขนส่งด้วยรถยนต์. การปฏิบัติการขนส่งด้วยรถยนต์. รถยนต์เป็นเครื่องมือที่มีคุณลักษณะสามารถใช้ปฏิบัติงานได้ตามลำพัง เชื่อมกับขนส่งประเภทต่างๆ เช่น เชื่อมกับสถานีขนส่งทางอากาศ ทางน้ำ ทางรถไฟ รถยนต์ ใช้ขนถ่ายสัมภาระจากวิธีการขนส่งอย่างหนึ่งไปอีก
E N D
วิชา การขนส่งด้วยรถยนต์
การปฏิบัติการขนส่งด้วยรถยนต์การปฏิบัติการขนส่งด้วยรถยนต์ รถยนต์เป็นเครื่องมือที่มีคุณลักษณะสามารถใช้ปฏิบัติงานได้ตามลำพัง เชื่อมกับขนส่งประเภทต่างๆ เช่น เชื่อมกับสถานีขนส่งทางอากาศ ทางน้ำ ทางรถไฟ รถยนต์ ใช้ขนถ่ายสัมภาระจากวิธีการขนส่งอย่างหนึ่งไปอีก อย่างหนึ่ง เป็นวิธีการขนถ่ายที่เหมาะสมที่สุดในการแจกจ่าย สป. หรือ ใช้เพิ่มเติมการขนส่งประเภทอื่นๆ เป็นการบริการที่ใช้ได้อย่างต่อเนื่อง เพราะมีความสามารถในการเคลื่อนที่สูง
ข้อดี • อ่อนตัว • เพิ่มความหยุ่นตัวให้กับการขนส่งประเภทอื่น ๆ • ขนของได้จำนวนมาก • ประหยัด(ขนระยะใกล้) • ข้อเสีย • สิ้นเปลือง (ขนระยะไกล) • ขนได้น้อย (ไม่มีการรวมรถ)
คุณสมบัติของบริการขนส่งด้วยรถยนต์คุณสมบัติของบริการขนส่งด้วยรถยนต์ • ปฏิบัติงานอิสระ • ปรับการปฏิบัติงานเข้ากับความต้องการของหน่วย • รับการสนับสนุนทุกหน่วย • เป็นตัวเชื่อมบริการขนส่งประเภทอื่น ๆ • รักษาคุณสมบัติของตนได้ตลอดเวลา
คุณลักษณะของการขนส่งด้วยรถยนต์คุณลักษณะของการขนส่งด้วยรถยนต์ • ดัดแปลงให้เหมาะกับงานได้ง่าย • ความอ่อนตัว • ความเร็ว • ตามกฎเกณฑ์ • ไว้วางใจได้
การบริการขนส่งด้วยรถยนต์การบริการขนส่งด้วยรถยนต์ ขนส่งกำลังพล + สป. จัดส่งยานพาหนะ จัดระเบียบทางหลวง
วิธีและประเภทของการปฏิบัติการขนส่งวิธีและประเภทของการปฏิบัติการขนส่ง 1.วิธีการปฏิบัติ • หลักการขนส่งด้วยรถยนต์ • แบบของการขน ( Type Haul ) • วิธีการขน ( Hauling Method )
หลักการขนส่งด้วยรถยนต์หลักการขนส่งด้วยรถยนต์ • ใช้เต็มขีดความสามารถ ( Maximum Use ) • ประหยัด ( Economic Use ) • กำหนดมาตรฐาน ( Standardization ) • เวลางดใช้งานน้อยที่สุด ( Dead-Line Limit ) • เวลาขนขึ้น และ ขนลง น้อยที่สุด ( Less Delay Time )
แบบของการขน 1.ระยะใกล้ 2. ระยะไกล
การขนส่งระยะใกล้ เป็นการขนส่งระยะทางสั้นๆ หลายเที่ยวใน 1 วัน โดยใช้ พลขับ และ รถคันเดิมทำให้สิ้นเปลืองเวลาการขนขึ้น+ขนลง มากกว่าเวลาที่ใช้ในการเดินทาง มูลฐานการขนระยะใกล้ เวลาขนขึ้น + ขนลง > เวลาเดินทาง ระยะทาง < 50 ไมล์/เที่ยว เดินทางไป-กลับ 4 เที่ยว/วัน
การขนส่งระยะไกล เป็นการขนระยะทางยาวกว่าขนส่งระยะใกล้ใช้เวลาเดินทาง มากกว่าการขนขึ้น+ขนลง เดินทางวันละ 2 เที่ยว และ ใช้เวลาผลัดละ 10 ชม. มูลฐานการขนระยะไกล เวลาขนขึ้น + ขนลง < เวลาเดินทาง เดินทางไป-กลับ 2 เที่ยว/วัน ผลัดละ 10 ชม. อัตราเร็วเฉลี่ย 20 ไมล์/ชม. ระยะทาง < 90 ไมล์/ช่วง
วิธีการขน 4 วิธี 1. วิธีการขนโดยตรง 2. วิธีการเทียวขน 3. วิธีการขนส่งทอด 4. วิธีการขนแบบผสม
วิธีขนโดยตรง เป็นการขนจากตำบลต้นทางไปยังตำบลปลายทาง เที่ยวเดียวเสร็จ ภารกิจ โดยสัมภาระที่บรรทุกไปยังคงอยู่บนรถคันเดิม และ พลขับคนเดิม วิธีนี้ใช้ในกรณี มีเวลาปฏิบัติงานจำกัด หรือเป็นการขนทางยุทธวิธี A B
การเทียวขน เป็นการขนจากตำบลต้นทางไปยังตำบลปลายทางหลายๆ เที่ยว จนเสร็จภารกิจการขนวิธีนี้จะใช้เวลาเดินทางบนถนนน้อยกว่า เวลา ขนขึ้น -ขนลงวิธีนี้ใช้เมื่อมีเวลาปฏิบัติเพียงพอ หรือ การขนทางธุรการ 1 A B 2 3
การขนส่งทอด เป็นการขนไปข้างหน้าเป็นช่วงอย่างต่อเนื่องจนถึงปลายทาง การขนวิธีนี้แต่ละช่วงจะมีการสับเปลี่ยนพลขับและหัวรถลากจูงโดยที่ รถพ่วงบรรทุกสัมภาระ-กำลังพลคงถูกขนไปข้างหน้า วิธีนี้เหมาะในการ ปฏิบัติการขนส่งระยะไกล หรือขนระหว่างเขต A C B
วิธีการขนส่งแบบผสม • การขนส่งแบบ พิกกี้แบค • การขนแบบ โรลออน - โรลออฟ • การขนแบบ ลิฟท์ออน - ลิฟท์ออฟ • การขนผสมทางอากาศ • การขนผสมแบบเรือเล็กร่วมเรือใหญ่
การขนส่งแบบพิกกี้แบค เป็นการขนแบบผสมซ้อนบนรถไฟ โดยรถบรรทุกสัมภาระแล้ว จะถูกนำไปบรรทุกบนตู้เปิด (บขถ.) ที่สถานีต้นทางจากนั้นจะ เคลื่อนย้ายโดยรถไฟจนถึงสถานีปลายทาง แล้วใช้รถหัวลากหรือ ขับลงจากรถไฟไปยังที่หมาย การขนแบบนี้มี 2 แบบ TOFC COFC
การขนแบบ โรลออน-โรลออฟ เป็นการบรรทุกที่ใช้รถหัวลากและรถกึ่งพ่วงบรรทุกสัมภาระ แล้วขับขึ้นไปบนเรือชนิดพิเศษ ณ ท่าเรือต้นทาง โดยไม่ปลดขอพ่วง แล้วเดินทางไปยังท่าเรือปลายทางโพ้นทะเล จากนั้นจะเคลื่อนย้ายโดย ขับรถลากและรถพ่วงลงจากเรือไปตามเส้นทางสู่ตำบลปลายทาง ซึ่งให้ผล ด้าน ความเร็ว คล่องตัว และประหยัด
การขนแบบลิฟท์ออน-ลิฟท์ออฟการขนแบบลิฟท์ออน-ลิฟท์ออฟ เป็นการขนโดยรถกึ่งพ่วงที่บรรทุกแล้วเคลื่อนย้ายไปยังท่าเรือแล้ว ปลดออกจากรถลากจูงจากนั้นใช้ปั้นจั่นยกลงจากเรือเมื่อเดินทางถึง ท่าเรือโพ้นทะเลแล้ว รถกึ่งพ่วงเหล่านั้นจะถูกยกออกจากท่าเรือ โดยปั้นจั่นแล้วใช้รถลากจูงไปยังจุดหมายปลายทาง
การขนผสมทางอากาศ เป็นการขนยานพาหนะที่ขนสัมภาระที่มีความเร่งด่วนสูง เคลื่อนย้ายโดยทางอากาศจากสถานีต้นทางไปยัง ปลายทาง
การขนผสมแบบใช้เรือลำเลียงเล็กร่วมกับเรือใหญ่การขนผสมแบบใช้เรือลำเลียงเล็กร่วมกับเรือใหญ่ เป็นการขนส่งที่นำรถกึ่งพ่วงหรือตู้บรรทุกสัมภาระที่บรรทุกเรียบร้อยแล้ว บรรทุกลงในเรือเล็ก จากนั้นนำเรือเล็กบรรทุกไว้ในเรือใหญ่ที่ต้นทาง ไปยังสถานีปลายทาง วิธีนี้ใช้เมื่อไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวก ที่ท่าเรือเพียงพอ
2.ประเภทต่างๆของการปฏิบัติ2.ประเภทต่างๆของการปฏิบัติ 1. การขนออกจากสถานีขนส่งทางน้ำ 2. การปฏิบัติการขนที่สถานีรับส่งด้วยส่งรถยนต์บรรทุก 3. การปฏิบัติการขนส่ง ณ ที่ตั้งหน่วย 4. การปฏิบัติการขนถ่าย 5. การสนับสนุนการรบ 6. การสนับสนุนการช่วยรบ 7. การบริการระหว่างเขต
1.การขนส่งออกจากสถานีขนส่งทางน้ำ1.การขนส่งออกจากสถานีขนส่งทางน้ำ การขนออกจากท่าเรือ การขนส่งจากหาด
2.การขนที่สถานีขนส่งด้วยรถยนต์บรรทุก2.การขนที่สถานีขนส่งด้วยรถยนต์บรรทุก
3.การขนส่ง ณ ที่ตั้งของหน่วย การสนับสนุนทางธุรการ การสนับสนุนคลังภายในพื้นที่
4.การขนถ่าย การขนถ่ายสัมภาระหรือกำลังพลจากหน่วยขนส่งหน่วยหนึ่ง ไปยังอีกหน่วยหนึ่งหรือประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง
ตำบลขนถ่าย 1. สถานีปลายทางรถไฟ 2. สถานีปลายทางรถยนต์บรรทุก 3. สถานีรับส่งทางน้ำในแผ่นดิน 4. สถานีปลายทางท่อ 5. สถานีปลายทางรับส่งทางอากาศ
5.การสนับสนุนการรบ หน่วยทหารขนส่งด้วยรถยนต์ถูกใช้ในการสนับสนุโดยตรงต่อการปฏิบัติ ทางยุทธวิธี ทน. / พล. และ อาจจะใช้หน่วยทหารขนส่งด้วยรถยนต์ใน อัตราสมทบ
6.การสนับสนุนการช่วยรบ6.การสนับสนุนการช่วยรบ การปฏิบัติการจากคลังถึงคลัง การปฏิบัติการจากคลังถึงตำบลส่งกำลัง ทน.
คลังสนับสนุนโดยตรง X X DSU DSU DSU X X X X XX X X เขต หน้า X X X X X X X X X X X X GSU GSU คลังสนับสนุนทั่วไป X X X O O O O เขต หลัง O O O O คลัง คลัง
การบริการระหว่างเขต - การบังคับบัญชา - การจัด - ยุทโธปกรณ์ - การวางแผนการปฏิบัติ
การวางแผนการขนส่งด้วยรถยนต์การวางแผนการขนส่งด้วยรถยนต์
การวางแผนการขนส่งด้วยรถยนต์การวางแผนการขนส่งด้วยรถยนต์ 1. จำนวนรถยนต์ที่ใช้งาน 2. ขีดความสารถในการบรรทุก 3. เวลาปฏิบัติงานตามวงรอบประจำวัน 4. อัตราการเคลื่อนที่ 5. ระยะทาง 6. เวลาที่เสียไป 7. ตัน * ไมล์ และ คน * ไมล์ 8. ยอดยานพาหนะที่สามารถนำมาใช้ได้ 9. ขีดความสามารถของกองร้อย รยบ. มูลฐานที่ใช้
1.จำนวนรถยนต์ที่ใช้งาน1.จำนวนรถยนต์ที่ใช้งาน -วางแผนล่วงหน้า ( ทั่วไป ) 75 % - วางแผนระยะสั้น ( เฉพาะภารกิจ ) 83 % 2.ขีดความสารถในการบรรทุก นอกเส้นทาง (ถนนเลว ) = อัตราบรรทุกของรถ รถใช้ล้อเพิ่ม 100 %ของอัตราบรรทุก ในเส้นทาง รถกึ่งพ่วงเพิ่ม 50%ของอัตราบรรทุก รถลากรถพ่วงเพิ่ม 60% ตัวรถพ่วงห้ามบรรทุกเกินอัตรา กรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ผบ.หน่วยผู้มีอำนาจสั่งการให้บรรทุกเกินอัตราได้ ในและนอกเส้นทาง
3. เวลาปฏิบัติงานตามวงรอบประจำวัน ปฏิบัติงานตลอดวัน 20 ชม. ขนระยะไกล 2 เที่ยว/วัน (ขนส่งทอด ) ขนระยะใกล้ 4 เที่ยว/วัน ( เทียวขน ) 4. อัตราการเคลื่อนที่ นอกเส้นทาง (ถนน เลว) 10 ไมล์/ชม. ในเส้นทาง ( ถนน ดี) 20 ไมล์/ชม.
5.ระยะทาง ขนระยะไกล 90 ไมล์ ( 144 กม. ) ขนส่งทอด ขนระยะใกล้ 25 ไมล์ ( 40 กม. ) เทียวขน 6. เวลาที่เสียไป สิ่งอุปกรณ์ (ขนขึ้น+ขนลง) = 2 . 5 ชม. กำลังพล ( ขนขึ้น+ขนลง ) = 0 . 5 ชม. สับเปลี่ยนรถพ่วงครั้งละ = 0 . 5 ชม.
7.ตัน *ไมล์ และ คน * ไมล์ ผลคูณระหว่างจำนวนตันหรือจำนวนผู้โดยสารกับระยะทางเป็นไมล์ที่ขนไปได้ การขนระยะใกล้ รวมการระบายจากท่าเรือและชายหาด จำนวนตัน ต่อรถ 1 คัน ใน 1 เที่ยว ระยะทาง ไมล์ (ไป) จำนวนเที่ยว 1 คัน/วัน เวลาที่เสียไป แบบรถ MIH บรรทุก 2 1/2 ตัน 6x6 4 12.5 4 10 2,5 รกกึ่งพ่วง12 ตัน S & P 12 20 4 10 1
การขนระยะไกล จำนวนตัน ต่อรถ 1 คัน ใน 1 เที่ยว ระยะทาง วัน/เที่ยว (ไมล์) จำนวนเที่ยว 1 คัน/วัน เวลาที่เสียไป แบบรถ MTH บรรทุก 2 1/2 ตัน 6x6 4 75 2 10 2.5 รกกึ่งพ่วง12 ตัน S & P 12 90 2 10 1
ความสามารถในการบรรทุกความสามารถในการบรรทุก X ไม่นับพลขับ XX เฉพาะครั้งคราว สิ่งบรรทุกหรือสินค้า คนพร้อมเครื่องกล เครื่องประจำกาย (เฉลี่ย) แบบรถ นอกถนน (ตัน) บนถนน (ตัน*เฉลี่ย) สูงสุด (ตัน) บรรทุก 2 1/2 ตัน 6x6 2.5 4 5 20X รกกึ่งพ่วง12 ตัน S & P 12 12 18 50XX รถกึ่งพ่วง25ตัน 25 25 25 50XX
8. ยอดยานพาหนะที่นำมาใช้ X คิดตามจำนวนรถใช้งาน 75%ของจำนวนรถที่บรรจุจริง ยานพาหนะที่นำมาใช้ จำนวนรถ ที่บรรจุจริง งานพิเศษ หน่วย วางแผน ล่วงหน้า X ใช้ได้จริง X ร้อย.ขส.รยบ.เบา 60 45 45 53 ร้อย.ขส.รยบ.กลาง 60 45 45 57 ร้อย.ขส.รยบ.หนัก 24 18 18 34 แหล่งรวมรถบรรทุก ไม่จำกัด
9. ขีดความสามรถของกองร้อยรถยนต์บรรทุก ชนิดของการส่ง ชนิด การขนระยะไกล ( ตันไมล์/วัน) การขนส่งระยะใกล้ (ตันสั้น/วัน/กองร้อย) บรรทุก 2 1/2 ตัน 6x6 720 27,000 รกกึ่งพ่วง12 ตัน 2,160 97,200
การคำนวนหาจำนวนรถและจำนวนกองร้อยรถยนต์บรรทุกการคำนวนหาจำนวนรถและจำนวนกองร้อยรถยนต์บรรทุก วิธีขนโดยตรง จำนวนรถ =จำนวนตันที่จะขน ขีดความสามารถในการบรรทุกตัน/คัน จำนวนกองร้อย =จำนวนรถ จำนวนรถ ที่ใช้งาน / กองร้อย
EX ในการปฏิบัติการขน สป. ครั้งหนึ่ง มีรายละเอียด ในการขนจากตำบล ก.ไปตำบล ข. ดั้งนี้ 1. จำนวน สป. ที่ต้องการขน 360 ตัน 2. ขีดความสามารถของ รยบ. 5 ตัน/คัน 3. จำนวนรถ/กองร้อย ( 75 % ) 36 คัน อยากทราบว่าการปฏิบัติการขน สป. ครั้งนี้จะต้องใช้ รยบ. จำนวนกี่คันและต้องใช้หน่วยปฏิบัติการครั้นี้จำนวนกี่กองร้อย
สป. 360 T ขีด 5 T/คัน ร้อย = 36 คัน ตำบล ก. ตำบลข. จำนวนรถ =จำนวนตันที่จะขน ขีดความสามารถในการบรรทุกตัน/คัน = 360 = 72 คัน 5 จำนวนกองร้อย =จำนวนรถ จำนวนรถ ที่ใช้งาน / กองร้อย = 72 36 = 2 กองร้อย
วิธีเทียวขน เวลาวงรอบ = 2 X ระยะทาง (ไป) + เวลาที่เสียไป อัตราการเคลื่อนที่ จำนวนเที่ยว/วัน =เวลาปฏิบัติงาน/วัน เวลาวงรอบ =20 เวลาวงรอบ หมายเหตุ จำนวนเที่ยวจะต้องเป็นจำนวนเต็มเสมอ เศษปัดทิ้ง มิฉะนั้นจะเกินเวลาปฏิบัติงาน / วัน
จำนวนรถ =จำนวนตันที่จะขน การบรรทุกตัน/คัน X จำนวนเที่ยว/วัน X จำนวนวัน จำนวนกองร้อย =จำนวนรถ จำนวนรถ ที่ใช้งาน / กองร้อย
EX.1 ในการขนระยะใกล้จากคลังถึงคลัง มีระยะทาง 15 ไมล์ จะต้องขน สป . จำนวน1,500ตัน ให้หมดภายใน 3 วัน โดยวิธีเทียวขน เส้นทางที่ใช้เป็นเส้นทางชั้น60น้ำหนักบรรทุก/คัน เท่ากับ 4 ตัน และใช้อัตราการเคลื่อนที่ 20 ไมล์/ชม.จะต้องใช้ รยบ. 2 1/2 ตัน 6X 6 กี่คันต่อวัน และเป็นจำนวนกี่กองร้อย A 15 ไมล์ B ระยะทาง 15 ไมล์ สป. 1,500 T เวลาปฏิบัติ 3 วัน น้ำหนักบรรทุก 4 T/คัน อัตราการเคลื่อนที่ 20 ไมล์/ชม. เวลาปฏิบัติงาน 20 ชม./วัน รยบ.ที่ใช้งาน ( 75 % ) = 36 คัน
เวลาวงรอบ = 2 X ระยะทาง (ไป) + เวลาที่เสียไป อัตราการเคลื่อนที่ = 2 X 18 + 2.5 24 = 4 ชม. จำนวนเที่ยว/วัน =เวลาปฏิบัติงาน/วัน เวลาวงรอบ =20 เวลาวงรอบ = 20 = 5 = 4 เที่ยว 4 การขนส่งระยะใกล้ ไม่เกิน 4 เที่ยว
จำนวนรถ =จำนวนตันที่จะขน การบรรทุกตัน/คัน X จำนวนเที่ยว/วัน X จำนวนวัน =1, 500= 31.25 = 32 คัน 4 X 4 X 3 จำนวนกองร้อย =จำนวนรถ จำนวนรถ ที่ใช้งาน / กองร้อย = 32/36 = 0.89 = 1 กองร้อย