120 likes | 282 Views
การบริหารเพื่อการปฏิรูประบบงบประมาณ สำหรับผู้บริหารสำนักงบประมาณในโครงการ “ Leadership Development Program for Thailand”. โดย อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7 และ 9 กุมภาพันธ์ 2548. ประเด็นที่จะนำเสนอ. Why reform?
E N D
การบริหารเพื่อการปฏิรูประบบงบประมาณสำหรับผู้บริหารสำนักงบประมาณในโครงการ“Leadership Development Program for Thailand” โดย อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7 และ 9 กุมภาพันธ์ 2548
ประเด็นที่จะนำเสนอ • Why reform? • การปฏิรูประบบงบประมาณของไทย • Current Policy Frameworkfor Budget Reform • ลักษณะของระบบงบประมาณสมัยใหม่ • ประเด็นสำคัญในการปฏิรูประบบงบประมาณในปัจจุบัน • Prospects/Concerns in Budget Reform
Why reform? • External Factors • Importance of International Trade and Financial Sectors • Increasing Awareness of Country’s Competitiveness • International Forces: e.g. from World Bank, IMF • Globalization Fashion
Why reform? (Cont’d) • Internal Factors • Declining Public Trust toward Governments • Decreases in Public Organizations’ Performance and Efficacy • Fiscal Crisis and Government’s Risks to Fiscal Discipline • Public Awareness for Value of Money/Value of Public Spending • Policy-driven Government
การปฏิรูประบบงบประมาณของไทยในอดีตการปฏิรูประบบงบประมาณของไทยในอดีต • การจัดโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินรูปแบบกระทรวง ทบวง กรม ในปี พ.ศ. 2435 เริ่มมีการจัดทำงบประมาณแบบแสดงรายการ (Line-Item) ในปี พ.ศ. 2440(External Forces) • การจัดตั้งสำนักงบประมาณในปี พ.ศ. 2502 มีความพยายามในการประยุกต์ใช้ระบบงบประมาณแบบแสดงผลงาน (Performance Budget) แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ (External Forces) • การประยุกต์ใช้ระบบงบประมาณแบบแสดงแผนงาน (PPBS) ในปี พ.ศ. 2527 ควบคู่ไปกับระบบงบประมาณแบบแสดงรายการ (Westernized Internal Forces) • การพยายามปรับปรุงระบบงบประมาณแบบมุ่งผลสำเร็จ (RBB) ระบบงบประมาณมุ่งเน้นผลงานตามแผนยุทธศาสตร์ (SPBB) ราวปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา (External and Internal Forces)
ข้อเท็จจริงเรื่องการบริหารภาครัฐกับการปฏิรูประบบงบประมาณข้อเท็จจริงเรื่องการบริหารภาครัฐกับการปฏิรูประบบงบประมาณ • การปฏิรูประบบราชการจะไม่ประสบผลสำเร็จหากมีการปรับปรุงเพียงโครงสร้างองค์การ • การปฏิรูประบบราชการที่ประสบผลสำเร็จมักจะใช้การปฏิรูประบบงบประมาณเป็นตัวกำกับทิศทางการปฏิรูประบบราชการ เช่น ประเทศนิวซีแลนด์, แคนาดา, ออสเตรเลีย, อังกฤษ, อเมริกา ฯลฯ
Current Policy Frameworkfor Budget Reform • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • นโยบายของรัฐบาล (ประเด็นยุทธศาสตร์)
จุดเน้น(ลักษณะ) ของระบบงบประมาณสมัยใหม่ MTEF, กรอบนโยบายการคลัง-การวิเคราะห์ประมาณการเศรษฐกิจ, กรอบนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน, กรอบแผนปฏิบัติราชการแผ่นดิน ฯลฯ • มุ่งเน้นการรักษาวินัยทางการคลัง • มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ • มุ่งเน้นการใช้จ่ายที่ตอบสนองต่อความต้องการของพลเมือง เทคนิควิเคราะห์งบประมาณสมัยใหม่, การวัดต้นทุนในการดำเนินงาน, การวัดผลสำเร็จของการใช้จ่ายงบประมาณ, Management Discretion, Decentralized Operation ฯลฯ การจัดสรรงบประมาณที่คำนึงถึงภารกิจพื้นฐานแห่งรัฐ และประเด็นยุทธศาสตร์ของรัฐบาล
ประเด็นสำคัญในการปฏิรูประบบงบประมาณในปัจจุบันประเด็นสำคัญในการปฏิรูประบบงบประมาณในปัจจุบัน • การกำหนดโครงสร้างผลผลิต (Output Structure) สำหรับการกำหนดแผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และการจัดสรรงบประมาณอย่างไร? • จะมีโครงสร้างผลผลิตที่สะท้อนภารกิจหลักของรัฐ และภารกิจตามประเด็นยุทธศาสตร์อย่างไร? • จะจัดสรรต้นทุน (Standardized cost) สำหรับผลผลิตประเภทต่างๆ อย่างไร? • บทบาท-การประสานงานระหว่างสำนักงบประมาณ และกระทรวง-กรม ในกระบวนการปฏิรูประบบงบประมาณจะเป็นเช่นใด?
Australia (Cont’d) • Federal System • Large Local Government whereas limited Federal Government Functions • Weigh more on Management Efficiency and Program Effectiveness
Prospects/Concerns in Budget Reform • ความเชื่อมโยงระหว่างการปฏิรูประบบงบประมาณและการเพิ่มผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ (Linkage between budget reform and Public Sectors’ Performance) • การกำหนดโครงสร้างผลผลิต กรอบแนวคิดในการปฏิรูประบบงบประมาณ และความเชื่อมโยงระหว่างภารกิจของรัฐ-นโยบายยุทธศาสตร์-ผลผลิต ในระบบงบประมาณ (Output Structure-Service Delivery and Budget Reform Framework) • การประสานงาน-ความร่วมมือระหว่างสำนักงบประมาณและหน่วยนโยบาย-หน่วยปฏิบัติการ (Collaboration between BoB and Ministries/Departments in Budget Reform Plan and Process) • การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ –ฝ่ายนิติบัญญัติ (Public Participation and Legislative Commitment in Budget Reform Process) • การเพิ่มอิสระและดุลยพินิจของผู้บริหารหน่วยงาน (Management Discretion and Leadership (Macro-Micro))