400 likes | 520 Views
N o r m. ค่ากลาง :. ชื่อเต็ม : ค่ากลางที่คาดหวังของแผนงาน/โครงการด้านสาธารณสุข. ความหมาย : งานใดๆ ที่ถือปฏิบัติกันอยู่เป็นปกติทั่วไปในพื้นที่ต่างๆ. เป็นงานที่พื้นที่ส่วนใหญ่(ระดับกลาง) ได้ทำแล้ว ทำให้บรรลุผลเชิงคุณภาพ(ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ). ค่ากลางคืออะไร ?.
E N D
N o r m ค่ากลาง : ชื่อเต็ม : ค่ากลางที่คาดหวังของแผนงาน/โครงการด้านสาธารณสุข ความหมาย : งานใดๆ ที่ถือปฏิบัติกันอยู่เป็นปกติทั่วไปในพื้นที่ต่างๆ เป็นงานที่พื้นที่ส่วนใหญ่(ระดับกลาง) ได้ทำแล้ว ทำให้บรรลุผลเชิงคุณภาพ(ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ)
จากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ พบว่า “แผนงาน/โครงการที่ดีประกอบด้วย 4 มิติ และในแต่ละมิติประกอบด้วย 7 กิจกรรม” หาค่ากลางของงานใน 7 กิจกรรม เพื่อยกระดับแผนงาน/โครงการ (บรรจุลงในตาราง 11 ช่อง) งาน 1 งาน 2 งาน 3-5 วิชาการ นวัตกรรม สังคม การพัฒนามิติต่างๆของโครงการจะทำให้เกิดนวัตกรรมทางวิชาการและสังคมใหม่ๆ
ตัวอย่างการหาค่ากลางเพื่อนำไปยกระดับแผนงานโครงการตัวอย่างการหาค่ากลางเพื่อนำไปยกระดับแผนงานโครงการ ประเด็นปัญหาสุขภาพ มิติ กิจกรรม งาน 1.การเฝ้าระวัง/คัดกรอง 2.มาตรการทางสังคม 3.การรักษาพยาบาล 4.การจัดการสภาวะแวดล้อม 5.การจัดการทรัพยากร 6.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7.การสื่อสารสารสนเทศ • ………. • ………. • ………. • ………. เบาหวาน กระบวนการ นำมาจากการแจงนับจากแบบสำรวจ • ………. • ………. • ………. • ………. …….….…. …….….…. ………..…. ……..……. ……………
ปฏิบัติการหาค่ากลางประเด็นปัญหา...(ความดัน/เบาหวาน).... ปฏิบัติการหาค่ากลางประเด็นปัญหา...(ความดัน/เบาหวาน).... ของ...(CUP เมือง นครสวรรค์)...
การหาความถี่ของงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง กิจกรรม การเฝ้าระวัง/คัดกรอง
การกำหนดค่ากลางของแผนงาน/โครงการการกำหนดค่ากลางของแผนงาน/โครงการ ความถี่สูงสุดของงานที่พบจากการสำรวจ 100% กำหนดให้งานที่มีความถี่ไม่น้อยกว่า 65 % ของความถี่สูงสุดเป็นค่ากลางของโครงการ ได้แก่งานที่ 6 7 8 9 65 50 0 งาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 • การสำรวจใช้แบบสอบถาม แบบเปิด • วิเคราะห์ แยกชนิดงานที่มีการปฏิบัติจริงในพื้นที่สำรวจ • เรียงลำดับความถี่ของงานที่มีการปฏิบัติจากน้อยไปหามาก
ข้อควรทราบในการวิเคราะห์ข้อมูลค่ากลางข้อควรทราบในการวิเคราะห์ข้อมูลค่ากลาง • งานที่อยู่เหนือเส้น 65% (เส้นค่ากลาง) ต้องมีไม่น้อยกว่า 3 งาน (ประมาณ3-5) งานเหล่านี้มีโอกาสถูกกำหนดให้เป็นค่ากลาง • งานที่กำหนดให้เป็นค่ากลางต้องมีอย่างน้อย 1 งานที่เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) แต่ถ้ามีมากก็ยิ่งดี • งานที่ไม่ให้ KPI ที่มีอยู่แล้ว ควรละเว้นไม่กำหนดให้เป็นค่ากลางในอนาคต • พิจารณางานที่ต่ำกว่าเส้นค่ากลางเพื่อยกระดับให้อยู่เหนือเส้น โดยเฉพาะงานที่ให้ KPI และงานที่สอดคล้องกับขั้นตอนการเปลี่ยนพฤติกรรม • บันทึกข้อมูลการตัดสินใจไว้เพื่อตรวจสอบภายหลังเมื่อมีการประเมินผล
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์ของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) (ตาราง 11 ช่อง)
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์ของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) (ตาราง 11 ช่อง)
ตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกันตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกัน เพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากร โดยสร้างโครงการรายกิจกรรม(Activity-base Project)7 โครงการ
ตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกันตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกัน เพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากร โดยสร้างโครงการรายกิจกรรม(Activity-base Project)7 โครงการ
ตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกันตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกัน เพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากร โดยสร้างโครงการรายกิจกรรม(Activity-base Project)7 โครงการ บรรจุงานที่คัดเลือกเป็นค่ากลางลงในช่องต่างๆให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง
ตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกันตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกัน เพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากร โดยสร้างโครงการรายกิจกรรม(Activity-base Project)7 โครงการ งานแยก งานเพิ่ม
การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพแผนงาน/โครงการเมื่อใช้ค่ากลาง จำนวน ยกระดับมาตรฐานวิชาการและสังคม สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง รร.นวัตกรรมฯทำงาน พัฒนาโครงการที่ต่ำกว่าค่ากลางขึ้นเท่ากับค่ากลาง โครงการ สร้าง รร.นวัตกรรมฯ 5 1 2 4 ระดับ 3 การกระจายของระดับการพัฒนาเมื่อเทียบกับค่ากลาง
การกำหนดค่ากลางของโครงการ ระดับ 1 2 3 4 5 • 1. ค่ากลาง แสดงงานสำหรับโครงการ(ก)ที่พบปฏิบัติอยู่ทั่วไปในจังหวัด • 2. ค่ากลางไม่ใช่มาตรฐานที่ออกโดยกรมวิชาการ • 3. หากโครงการ(ก)ที่กำลังประเมินมีงานเปรียบเทียบได้กับค่ากลาง ให้คะแนน = 3 • 4. หากมีงานมากหรือน้อยกว่าค่ากลาง คะแนนจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามเกณฑ์ที่จังหวัดกำหนด • 5. จังหวัดสามารถกำหนดทิศทางการพัฒนาได้โดยการตั้งเกณฑ์เพื่อผลักดันงานไปในทิศทางที่ต้องการ
การพัฒนากระบวนการจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปรับกระบวนการด้วยโครงการกิจกรรมสำคัญทั้ง 7 ใช้การจัดการค่ากลางและแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ขั้นตอนของการพัฒนาหลังการกำหนดค่ากลาง นำงานกลางเข้าตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการสำหรับหลายประเด็น จังหวัด อำเภอ ท้องถิ่น/ตำบล
กระบวนการบริหารแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และค่ากลางกระบวนการบริหารแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และค่ากลาง ประกาศค่ากลาง กำหนดค่ากลาง บริหารแผนงาน/วิชาการ/ ติดตาม/ประเมิน บูรณาการงาน ติดตาม KPI สนับสนุน ประเมินผล สร้างแผนงาน/โครงการ เปิดงาน ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน รพสต อสม กองทุนฯตำบล
สร้างโครงการด้วย 7 กิจกรรมที่สามารถตอบสนองได้ทุกแผนงาน กลุ่มแผนงาน 7 โครงการที่สร้างเพื่อตอบสนอง ได้ทุกแผนงาน โครงการ
ตัวอย่าง การบูรณาการงานเฝ้าระวังในประเด็นต่างๆ
ข้อควรทราบในการวิเคราะห์ข้อมูลค่ากลางข้อควรทราบในการวิเคราะห์ข้อมูลค่ากลาง • งานที่อยู่เหนือเส้น 65% (เส้นค่ากลาง) ต้องมีไม่น้อยกว่า 3 งาน (ประมาณ3-5) งานเหล่านี้มีโอกาสถูกกำหนดให้เป็นค่ากลาง • งานที่กำหนดให้เป็นค่ากลางต้องมีอย่างน้อย 1 งานที่เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) แต่ถ้ามีมากก็ยิ่งดี • งานที่ไม่ให้ KPI ที่มีอยู่แล้ว ควรละเว้นไม่กำหนดให้เป็นค่ากลางในอนาคต • พิจารณางานที่ต่ำกว่าเส้นค่ากลางเพื่อยกระดับให้อยู่เหนือเส้น โดยเฉพาะงานที่ให้ KPI และงานที่สอดคล้องกับขั้นตอนการเปลี่ยนพฤติกรรม • บันทึกข้อมูลการตัดสินใจไว้เพื่อตรวจสอบภายหลังเมื่อมีการประเมินผล
ขั้นตอนการเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคลขั้นตอนการเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคล บุคคล รับรู้ สนใจ ใคร่ทดลอง ก้าวพ้นอุปสรรค เกิดค่านิยมใหม่ กิจกรรม • การสื่อสารทางเดียว • การสื่อสารสองทาง • ให้โอกาสทดลอง • คาดล่วงหน้า เตรียมพร้อม • ให้โอกาสปฏิบัติซ้ำๆ
สรุปคำแนะนำ • เนื่องจากกองทุนฯตำบลได้ผลิตโครงการต่างๆแล้วเป็นจำนวนมาก จึงควรจัดการประชุมกรรมการกองทุนฯเพื่อรวบรวมข้อมูลของงานที่ทำอยู่ จากนั้นจึงกำหนดค่ากลางของโครงการสำคัญๆเป็นรายจังหวัด • ค่ากลางของโครงการจะใช้ร่วมกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ระหว่าง สสจ. สปสช. อปท. เพื่อปรับทิศทางของโครงการสุขภาพสำคัญๆ อันจะยังผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายได้ • ค่ากลางสามารถใช้จัดระดับแผนงาน/โครงการ ซึ่งจะช่วยให้หน่วยงานต่างๆทราบสถานะทางการพัฒนาและกำหนดทิศทางการพัฒนาแผนงาน/โครงการได้ด้วยตนเอง • ค่ากลางมีประโยชน์ในการจัดระบบการเรียนการสอนของโรงเรียนนวัตกรรมฯ ด้วย • ค่ากลางใช้เป็น Benchmark ในระบบติดตาม ประเมินผล และการสร้างนวัตกรรม ทั้งยังเป็นเงื่อนไขในการพิจารณาคำร้องขอการสนับสนุนโครงการ
สรุปกระบวนการ ขั้นตอนของการจัดการค่ากลาง
เชื่อมั่น และ ทำให้เป็นจริง
ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)
ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)
ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)
ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)
ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)
ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)
ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)
ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)
ตัวอย่างงานในกิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง :จากการค้นหาค่ากลางพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จทั่วประเทศ(ปี2555:สะเมิงรีสอร์ท เชียงใหม่)