540 likes | 911 Views
แบบ สรุปการเสนอผลงานกิจกรรมพัฒนา และประกันคุณภาพงานของภาควิชา ครั้งที่ 84 เรื่อง การ พัฒนางานวิจัย(แบบพุ่งเป้า)ในระยะเวลา 5 ปี ( Target Research) วันศุกร์ที่ 31 พฤษภาคม 2556.
E N D
แบบสรุปการเสนอผลงานกิจกรรมพัฒนาแบบสรุปการเสนอผลงานกิจกรรมพัฒนา และประกันคุณภาพงานของภาควิชา ครั้งที่ 84 • เรื่อง การพัฒนางานวิจัย(แบบพุ่งเป้า)ในระยะเวลา 5 ปี • (Target Research) • วันศุกร์ที่ 31 พฤษภาคม 2556
แบบสรุปการเสนอผลงานกิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชา ครั้งที่ 84เรื่อง การพัฒนางานวิจัย(แบบพุ่งเป้า)ในระยะเวลา 5 ปี (Target Research)วันศุกร์ที่ 31 พฤษภาคม 2556 Moderator :รศ.นพ.บุญสิน ตั้งตระกูลวนิช วิทยากรฯ :ศ.นพ.อนันต์ ศรีเกียรติขจร (รองคณบดีฝ่ายวิจัย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : ศ.นพ.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์
แนวปฏิบัติการนำเสนอผลงานภาควิชาแนวปฏิบัติการนำเสนอผลงานภาควิชา
จุดเด่น มีการเชื่อมโยงงานวิจัยกับอาจารย์ทางคลินิก ภาควิชาพยาธิวิทยา(รศ.พญ.ปารมี ทองสุกใส) หัวข้องานวิจัยที่คาดว่าจะมุ่งเน้น 1. โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ที่ระบาดในพื้นที่ภาคใต้ 2. Rickettsial disease 3. วัณโรคดื้อยา 4. เชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล Knowledge Capture
ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมข้อเสนอแนะจากที่ประชุม • การ Penetrate ตลาด เพราะเรื่อง EID มีคู่แข่งมาก : ให้ร่วมมือแทนการแข่งขัน • KSF : commitment ของทีมงาน • ให้ Focus ให้ชัดเจนมากขึ้น เช่น มุ่ง EID เดียว • สร้างเครือข่าย ภาควิชาพยาธิวิทยา(รศ.พญ.ปารมี ทองสุกใส) แผนการพัฒนา ผลการพัฒนาต่อเนื่อง 1. เพิ่มความสามารถห้องปฏิบัติการ: - จำแนกสายพันธุ์ของเชื้อความเสี่ยงสูงสุดระดับ 3 ได้ - รองรับงานวิจัยที่มีการเพาะแยกเชื้อไวรัส - รองรับงาน molecular cloning 2. ดำเนินโครงการวิจัย : งานวิจัยนานาชาติ 5 เรื่อง/ปี 3. การเรียนการสอนหลังปริญญา: รับ น.ศ. ป.โท-เอก >2 คน/ปี 4. พัฒนาการทดสอบเพื่อการบริการ • เสนอจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ และเชื้อดื้อยา • ปรับปรุงห้อง lab. BSL-2 plus เพื่อให้ทันกับการตรวจเชื้อ micloile east corona virus syndrome ที่กำลังระบาด • นัดกลุ่มผู้รับผิดชอบหลักหารือ
จุดเด่น • มีผู้ป่วยจำนวนมาก • โครงการระหว่างภาควิชา • ผู้รับบริการจำนวนมาก - อาจารย์จบหลักสูตรด้านระบาดวิทยามีน้อย - อาจารย์ที่มีความรู้ด้านการทำวิจัยเกี่ยวกับต้นทุนน้อย - สัดส่วนอาจารย์มีน้อย ภาควิชาวิสัญญีวิทยา (ผศ.พญ.ภัณฑิลา รุจิโรจน์จินดากุล) จุดอ่อน - Scope ทำเรื่อง Economy ของการผ่าตัด - การวิเคราะห์ต้นทุน (Cost analysis) ของผู้ป่วย Knowledge Capture
ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมข้อเสนอแนะจากที่ประชุม แผนการพัฒนา - สร้างทีมวิจัยภายใน และร่วมกับภาควิชาอื่น - เชิญนักเศรษฐศาสตร์ให้ความรู้/ที่ปรึกษาด้านวิจัย - ประโยชน์ที่ได้จากการทำวิจัยในระยะยาวที่ชัดเจน - หัวข้อวิจัยไม่สอดคล้องกับวิสัยและพันธกิจ ฝ่ายวิจัย ภาคฯ ได้คิดทบทวนกลยุทธ์ Target Researchของภาควิชาฯ ใหม่ เชิญ ดร.พญ.ภาสุรี แสงศุภวานิช เป็นวิทยากร ให้คำปรึกษาคำแนะนำการทำ Target Research ในวันที่ 11 ก.ค. 56 ซึ่งหลังจากฟังการให้คำปรึกษาและแนะนำ จะทำการวางแผนการทำ Target Research เพื่อผลักดันให้เกิด Target Researchที่เป็นรูปธรรมและเกิดเป็นผลงานของภาควิชาฯ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา (ผศ.พญ.ภัณฑิลา รุจิโรจน์จินดากุล) เริ่มจากการสร้างกลุ่มวิจัย สอบถามความสนใจของอาจารย์ถึงความสนใจและรวมกลุ่มทำวิจัย หาทีมวิจัยจากอาจารย์/บุคลากรในภาควิชาฯ เพื่อการทำวิจัยดำเนินไปอย่างราบรื่น ไม่เกิดความอึดอัด field ที่อาจารย์สนใจศึกษา ได้แก่ Patient safety, Cost, Airway management & Regional anesthesia, CVT, Pediatric anesthesia, Regional anesthesia & Acute pain management, Neuroanesthesia ผลการพัฒนา
จุดเด่น • งานวิจัยสอดคล้องกับความต้องการของคณะ • มีความร่วมมือกับภาควิชาอื่นๆ ภาควิชาชีวเวชศาสตร์ (รศ.นพ.สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยา) Best Practice Academic meeting 3-4 ครั้ง/เดือน ทำให้เรียนรู้ร่วมกันในงานของแต่ละท่าน • ทิศทางงานวิจัย • สัมมนาร่วมกัน • มีทุนให้นักศึกษาทำให้สามารถคัดเลือกนักศึกษาได้ • เป้าหมายงานวิจัย 1.5 เรื่อง/คน (อายุงาน <3 ปี=วิจัย 30 % , อายุงาน >3 ปี วิจัย= 50 % • ทำงานวิจัยร่วมกับภาควิชาทางคลินิก/ระหว่างภาควิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย Knowledge Capture
ภาควิชาชีวเวชศาสตร์ (รศ.นพ.สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยา) ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม - นักศึกษาทำงานวิจัย อาจเกิดความไม่แน่นอน stabilityของ workforce - ระบบดูแล Infrastructureโดยเฉพาะเครื่องมือราคาสูง แผนการพัฒนา • สัมมนาภาควิชา/หลักสูตร • วางแผนการส่งผลงานตีพิมพ์ • เป้าหมายผลงานตีพิมพ์ของอาจารย์ 1.5 เรื่อง / คน / ปี • (อาจารย์ใหม่ขอทุนวิจัยใน 1 ปี + ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ปีที่ 2 , • อาจารย์ทำงานเกิน 3 ปี เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ น.ศ. อย่างน้อย 2คน) • ทำวิจัยเป็นกลุ่มระหว่างภาควิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย และร่วมกับภาควิชาทางคลินิก • ทุนบัณฑิตศึกษาคณะแพทยศาสตร์ ซึ่งครอบคลุมค่าใช้จ่ายต่างๆ
ภาควิชาชีวเวชศาสตร์ (รศ.นพ.สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยา) • ผลการพัฒนาต่อเนื่อง • สัมมนาภาควิชา/หลักสูตรชีวเวชศาสตร์ วันที่ 14-16 มี.ค. 2556 จ.กระบี่ • (นักศึกษาเข้าร่วมสัมมนาร่วมกับคณาจารย์และบุคลากรในภาควิชา) • อาจารย์ใหม่ (ดร. วรมย์ญลิน) ขอรับทุนพัฒนาศักยภาพการทำวิจัย • ดร. กมนนัทธ์เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ น.ศ. ป.โท 1 คน • อาจารย์ปฏิบัติงานเกิน 3 ปี ทุกคนเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของ น.ศ. อย่างน้อย 2 คน • อาจารย์ในภาควิชามีโครงการวิจัยร่วมกัน มีทั้งโครงการวิจัยร่วมกับอาจารย์ที่อยู่ต่าง • ภาควิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย • นักศึกษาได้รับทุนบัณฑิตศึกษา คณะแพทยศาสตร์ จำนวน 9 คน • (ป.โท 7 คน, ป.เอก 2 คน) ผลการเรียนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.25
จุดเด่น ใช้ชุนชนเป็นฐานงานวิจัยและมีอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน(ผศ.พญ.ฐิติวร ชูสง) Best Practice การส่งเสริมให้บุคลากรทำงานวิจัยที่เกื้อหนุนกัน ( พัฒนาตนและเกื้อหนุนภายในภาควิชาและผู้ร่วมงาน) • มีสัดส่วน Young staff มาก • Research group • - Community Medicine - ร่วมกับองค์กรท้องถิ่น CSR • - Family Medicine • - Occupational Medicine Knowledge Capture
ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมข้อเสนอแนะจากที่ประชุม • ภาควิชาจัด Priority และวางทิศทางงานวิจัย • ควรรวมกลุ่มกันทำงานวิจัย ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน(ผศ.พญ.ฐิติวร ชูสง) แผนการพัฒนา ผลการพัฒนาต่อเนื่อง 1. อาจารย์ใหม่พัฒนาโครงร่างวิจัยให้แล้วเสร็จภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 เพื่อยื่นทุนวิจัยจากคณะแพทยศาสตร์ 2. อาจารย์รุ่นกลาง ร่วมกันจัดตั้ง Research Unit • Research club ทุก ๆ วันจันทร์ของสัปดาห์ • พัฒนาหัวข้อสำหรับ research club 25หัวข้อ • ส่งเสริมการรับทุนวิจัยทั้งภายในและ • ภายนอก • เพิ่มเงินตีพิมพ์จำนวน 5,000 บาท / ฉบับ
จุดเด่น • วางยุทธศาสตร์งานวิจัยที่ชัดเจน • อาจารย์อาวุโสเป็น Mentor ด้านวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา (รศ.นพ.โสภณ ชีวะธนรักษ์) Best Practice การวิเคราะห์ ติดตาม Ongoing Research ของแต่ละหน่วย ติดตาม Ongoing Research ของแต่ละหน่วย Knowledge Capture
ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมข้อเสนอแนะจากที่ประชุม • ปรับปรุงการ Assess และ Monitor งานวิจัยของอาจารย์ • ควรสร้างงานวิจัยของแพทย์ใช้ทุน แพทย์ประจำบ้าน ให้มีคุณภาพตั้งแต่การตั้งคำถามวิจัย เนื่องจากสามารถนำผลงานวิจัยดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ต่อไป ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา (รศ.นพ.โสภณ ชีวะธนรักษ์) แผนการพัฒนา ผลการพัฒนาต่อเนื่อง นำเสนอในที่ประชุมภาควิชารับทราบทุกไตรมาส สร้างบรรยากาศการวิจัยในภาคทำให้เกิดการกระตือรือร้น เพื่อให้มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ของแต่ละหน่วยฯ
จุดเด่น ภาควิชาศัลยศาสตร์ (รศ.พญ.มณฑิรา ตัณฑนุช) • มีงานวิจัยที่เป็นนวัตกรรม ทิศทางการวิจัย Trauma, Vascular, Cancer Knowledge Capture
ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมข้อเสนอแนะจากที่ประชุม • ควรมีการทดสอบสิ่งประดิษฐ์ที่ทำขึ้น • ควรเริ่มงานเชิงรุกในการป้องกันโรค การจัดการโรค เช่น มะเร็ง, ระบบการดูแล เช่น Fast track • ข้อเสนอแนะจากภาควิชาปริมาณงานวิจัยต่ำกว่าเกณฑ์ที่คณะ ฯ กำหนด ภาควิชาศัลยศาสตร์ (รศ.พญ.มณฑิรา ตัณฑนุช) แผนการพัฒนา ผลการพัฒนาต่อเนื่อง 1. ปัจจัยส่วนบุคคล คือ ขาดความสนใจงานวิจัย - ระยะสั้น กำหนดเป็น KPI ของบุคคล - ระยะยาว อาจารย์ใหม่ ต้องทำวิจัย เพื่อขอตำแหน่งวิชาการ 2. ขั้นตอนเขียนโครงการ/ขอทุนยุ่งยาก - ระยะสั้น มีผู้ช่วยวิจัยของภาควิชา ดำเนินการทุกขั้นตอน (กรณีโครงการมากขึ้น อาจต้องเพิ่มผู้ช่วยวิจัยของภาควิชา) 3. งานวิจัยขาดทิศทางที่ชัดเจน - กำหนดทิศทางงานวิจัย ตามงานบริการของภาควิชา ได้แก่ cancer, cardiovascular disease และ trauma • มีจำนวนงานวิจัยกำหนดแล้วเสร็จ ปี 2556 จำนวน 22 เรื่อง ซึ่งยังไม่มีการประเมิน เนื่องจากยังไม่ครบกำหนดเวลา • มีจำนวนสิ่งประดิษฐ์ และหุ่นจำลองทางการแพทย์ อยู่ระหว่างการขอจดอนุสิทธิบัตร อย่างน้อย 1 อุปกรณ์ และ อย่างน้อย 3 สิ่งประดิษฐ์ที่อยู่ระหว่างการพัฒนาแบบสหสาขาวิชา
จุดเด่น • หัวข้อวิจัยที่หลากหลาย • งานวิจัยที่สามารถทำร่วมกันระหว่างคณะ • อาจารย์อาวุโสเป็นที่ปรึกษาให้แก่อาจารย์ Young staff ภาควิชาอายุรศาสตร์ (รศ.นพ.พรชัย สถิรปัญญา) Best Practice การทำวิจัยสหสาขาวิชาที่ประสานงานกันบนหัวข้อวิจัยที่เกี่ยวข้องกันหรือสนใจร่วมกันสามารถสร้างงานที่มีคุณภาพได้ • แนวทางแสวงหาความร่วมมือทางการวิจัยระหว่างหน่วยงาน • การสื่อสารข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงานเพื่อเพิ่มโอกาสก่อให้เกิดความร่วมมือ Knowledge Capture
ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมข้อเสนอแนะจากที่ประชุม แผนการพัฒนา • ประชาสัมพันธ์หัวข้อวิจัยที่สนใจให้รับรู้ทั้งภายใน/ภายนอก • การประสานงานความร่วมมือทั้งภายใน/ภายนอก • จัดสรรภาระงานด้านบริการเพื่อทำงานวิจัย พัฒนาการทำวิจัยแบบมุ่งเป้า โดยแสวงหาความร่วมมือระหว่างภาควิชาและจากต่างคณะ ภาควิชาอายุรศาสตร์ (รศ.นพ.พรชัย สถิรปัญญา) รายงานแผนการพัฒนา • ดำเนินการสร้างและขยายความร่วมมือเครือข่ายวิจัยระหว่างคณะ สร้างองค์ความรู้ด้านการวิจัยที่มีคุณค่าและพัฒนาระบบการวิจัยให้มีความเข้มแข็ง โดยติดต่อประสานงานขอความร่วมมือทำวิจัยร่วมระหว่างคณะ ดังนี้ รศ.ดร.ภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยคณะเภสัชศาสตร์รศ.ดร.อัญชนา ประเทพ รองคณบดีฝ่ายวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ • ประชาสัมพันธ์หัวข้อวิจัยของอาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ ให้แก่อาจารย์ในภาควิชาฯ หากอาจารย์มีความสนใจจะทำวิจัยร่วมจะติดต่อประสานงานในขั้นต่อไป ผลการพัฒนา มีผลงานวิจัยที่เป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน 0.5-1/ปี
จุดเด่น • งานวิจัยสามารถทำได้จริง, มีผู้ป่วยจำนวนมาก ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธฯ (อาจารย์วราห์ ยืนยงวิวัฒน์) Best Practice นำสภาพปัญหาของภาคใต้ เรื่อง คนกรีดยางมาสู่เป้าวิจัย Musculoskeletal problem in Rubber tapper Knowledge Capture
ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมข้อเสนอแนะจากที่ประชุม • ควรจัดสรรภาระของอาจารย์แพทย์ให้ชัดเจนในการทำงานด้านการบริการ การเรียน • การสอน และการทำวิจัย • ควรให้อาจารย์มีแผนงาน (Action plan) เป็นรายบุคคล เพื่อจัดสรรเวลาในการทำวิจัย ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธฯ (อาจารย์วราห์ ยืนยงวิวัฒน์) แผนการพัฒนา ผลการพัฒนาต่อเนื่อง - ลงพื้นที่สำรวจสภาพปัญหาคนกรีดยาง - มีการจัดทำ Action plan - ประชุมแบ่งกลุ่มการทำวิจัยของภาควิชาฯ • แบ่งภาระงานของอาจารย์ให้ชัดเจน • อาจารย์มี Action plan ที่ชัดเจน • อาจารย์ 1 ท่าน มีผลงานวิจัย 1 เรื่อง/ปี
มีการวางแผนงานที่เป็นระบบ • หัวข้อที่สนใจมี R/D Potential จุดเด่น ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา (ศ.นพ.วิทูร ลีลามานิตย์) Knowledge Capture • Transdermal delivery of allergic antigen
จุดเด่น • ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและจำนวนต่ออาจารย์สูง • มีศักยภาพในการผลักดันหน่วยไปสู่ระดับสากล • มีชื่อเสียงในด้านการรักษาผู้ป่วยจอตา • ข้อมูลมีคุณภาพ ภาควิชาจักษุวิทยา (รศ.นพ.แมนสิงห์ รัตนสุคนธ์) Best Practice International Collaboration (Multicenter Study) Knowledge Capture Retina research group
ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมข้อเสนอแนะจากที่ประชุม • ควรมี internal review (ในภาควิชา) เพื่อพัฒนาคุณภาพงานวิจัย • ควรดึงหน่วยอื่นๆในภาควิชามาร่วมด้วยไม่ใช่หน่วย retina หน่วยเดียว • การร่วมงานวิจัยในระดับสากล เราต้องเป็นผู้นำในเรื่องนั้นให้ได้ ควรมีการวิเคราะห์มากกว่าที่อื่น ภาควิชาจักษุวิทยา (รศ.นพ.แมนสิงห์ รัตนสุคนธ์) ผลการพัฒนาต่อเนื่อง แผนการพัฒนา • ผู้นำด้านการวิจัยโรคจอตา • ตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคจอตา ถูกต้อง • รวดเร็ว แม่นยำ • เพิ่มประสิทธิภาพด้านการเรียนการสอน • และจักษุแพทย์ต่อยอดสาขาจอตา • เป็นศูนย์พัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ด้าน • จอตาของประเทศ • เพิ่มอาจารย์แพทย์ด้านจอตาเพิ่ม 1 อัตรา • เพิ่มจักษุแพทย์ต่อยอดด้านจอตาและน้ำวุ้น • (Fellow) 1 อัตรา • เพิ่มตำแหน่งผู้ช่วยแพทย์ จำนวน 1 อัตรา
มีงานวิจัยที่สามารถต่อยอดไปใช้ในทางคลินิกได้ • อาจารย์มีความเชี่ยวชาญในเชิงลึก จุดเด่น โครงการจัดตั้งสถาบันวิศวกรรมชีวการแพทย์ (รศ.นพ.พุฒิศักดิ์ พุทธวิบูลย์,อาจารย์สุรพงษ์ ชาติพันธุ์) Best Practice คิดไอเดียเริ่มต้นการจัดทำ CT scan (หน่วยงานสามารถนำ CT scan มาใช้ในการศึกษาเพื่อใช้ในการรักษาและงานวิจัย) Biomechanics Biomaterial Molecular Bioengineering Knowledge Capture
ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมข้อเสนอแนะจากที่ประชุม แผนการพัฒนา • ควรพิจารณาเรื่อง value chain เพื่อดูต้นทุนการผลิต • Product ดีกว่า (Economy of Scale) • ควรให้เกิดการทำงานเป็นทีม โดยให้มี Interactive • ระหว่างสาขาวิชา • เชิญอาจารย์ภายนอก (จุฬาฯ) มาปรึกษา เพื่อขยาย • Space ของงาน • ควรตั้งคำถามวิจัยที่มีผลต่อทางคลินิก • ร่วมมือกับหน่วยงานทางคลินิก ตั้ง • คำถามวิจัยที่สามารถนำไปใช้ได้ เช่น • การนำเสนองานวิจัยและความ • ชำนาญของนักวิจัยแก่หน่วยงานทาง • คลินิก • สัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับ • Biomaterials, Biomechanics, • Molecular Bioengineering • เชิญอาจารย์ นักวิจัยจากภายนอก • คณะมาร่วมในโครงการวิจัย • ทำงานวิจัยร่วมกับผู้ประกอบการ • เชิงพาณิชย์ โครงการจัดตั้งสถาบันวิศวกรรมชีวการแพทย์ (รศ.นพ.พุฒิศักดิ์ พุทธวิบูลย์,อาจารย์สุรพงษ์ ชาติพันธุ์) • ได้โครงการวิจัยจากคำถามวิจัยที่มีผลต่อทางคลินิก • ได้ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทางคลินิกและ • หน่วยงานภายนอกคณะและผู้ประกอบการ • นักวิจัยได้พัฒนาศักยภาพของตนในการทำวิจัย ผลการพัฒนาต่อเนื่อง
รายงานข้อมูลความเสี่ยงด้านคลินิกรายงานข้อมูลความเสี่ยงด้านคลินิก ตุลาคม 2555 - มิถุนายน 2556
ความผิดพลาดในการทำการผ่าตัดความผิดพลาดในการทำการผ่าตัด
อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดอัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด Procedure : Craniotomy / Cholecystectomy / Colectomy / Mastectomy / Open Heart surgery / CABG
อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดอัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด
อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดอัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด
อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดอัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด
อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดอัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด
อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดอัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด
อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดอัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด
อัตราการติดเชื้อปอดอักเสบในผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจอัตราการติดเชื้อปอดอักเสบในผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจ NHSN 50 percentile(2010)=1.1 50 percentile(2011)=1.0
อัตราการติดเชื้อในกระแสเลือดในผู้ป่วยที่ใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางอัตราการติดเชื้อในกระแสเลือดในผู้ป่วยที่ใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง
อัตราการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ใส่สายสวนปัสสาวะอัตราการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ใส่สายสวนปัสสาวะ NHSN 50 percentile(2010)=1.8 50 percentile(2011)=1.6
ข้อมูลอัตราการล้างมือของบุคลากรที่เกี่ยวข้องข้อมูลอัตราการล้างมือของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง อื่น ๆ หมายถึง นักกายภาพบำบัด / พนักงานช่วยการพยาบาล / นศพ. / นศ.พยาบาล / อาจารย์พยาบาล PROCEDURE : SUCTION & DRESSING
ความปลอดภัยในการให้ยา สารน้ำ (Medication Error)
ความปลอดภัยในการสั่ง ให้เลือด
การบ่งชี้ผู้ป่วย (Identification)
ผู้ป่วยปฏิเสธการรักษาผู้ป่วยปฏิเสธการรักษา
ภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาพยาบาลภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาพยาบาล