760 likes | 915 Views
Loei Hospital 23 February 2012. นายแพทย์สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10 และ คณะ. Roadmap Team. Hoshin Planning 2012. Safety Risk Management PCT Infection Control ENV. LEAN Management ระบบการเงิน (การจัดเก็บรายได้) ระบบส่งต่อ ระบบนัดหมาย
E N D
Loei Hospital 23 February 2012 นายแพทย์สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัยผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10 และคณะ
Hoshin Planning 2012 • Safety • Risk Management • PCT • Infection Control • ENV • LEAN Management • ระบบการเงิน (การจัดเก็บรายได้) • ระบบส่งต่อ • ระบบนัดหมาย • เวชภัณฑ์มิไช่ยา
ข้อมูล ณ วันที่ 31 มกราคม 2555 1 3 2 402 เตียง บุคลากร 1,075 ข้าราชการ 495 พนักงานราชการ 14 ลูกจ้างประจำ 139 ลูกจ้างชั่วคราว 427 แพทย์ 39/14 เภสัชกร 21 ทันตแพทย์ 12 พยาบาล 367/23 (นอกกลุ่มการ 25 RNไม่ได้บรรจุ 61) ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง 2 แห่ง รพ.สต. 19 แห่ง
สถานบริการสาธารณสุข อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย • รพ.ทั่วไป จำนวน 1 แห่ง • 2. ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล จำนวน 1 แห่ง • ศสม. (สาขากุดป่อง+สาขาสุขศาลา) จำนวน 2แห่ง • โรงพยาบาลเอกชน จำนวน 1 แห่ง • รพ.สต. จำนวน 19 แห่ง • 6. รพ.จิตเวชเลยราชนครินทร์ จำนวน 1 แห่ง • 7. รพ.ค่ายศรีสองรัก จำนวน 1 แห่ง • 8. คลินิกเอกชน จำนวน 17 แห่ง
สถิติการให้บริการผู้ป่วยนอกเฉลี่ยต่อวันสถิติการให้บริการผู้ป่วยนอกเฉลี่ยต่อวัน
สถิติการให้บริการผู้ป่วยในเฉลี่ยต่อวันสถิติการให้บริการผู้ป่วยในเฉลี่ยต่อวัน
อัตราครองเตียง ผู้ป่วยใน 324 เตียง
สัดส่วนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการที่โรงพยาบาลเลยจำแนกตาม PCT 2554 1
ร้อยละของผู้ป่วยนอก จำแนกตามแผนก
สัดส่วนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการที่โรงพยาบาลเลยจำแนกตามอำเภอ 2554
สถิติผู้รับบริการ ER จำแนกตามประเภท
กลุ่มผู้ป่วยส่งต่อ (Refer In)
กลุ่มผู้ป่วยส่งต่อ (Refer Out)
พัฒนาระบบส่งต่อ • กำลังดำเนินการ นำโปรแกรม Refer-link ร้อยเอ็ด (version ลำปาง) มาใช้ในทุกระดับทั้งจังหวัด (รพท., รพช., ศสม., รพ.สต.) อยู่ระหว่างทดลองใช้ • ปรับปรุงระบบบริหารจัดการศูนย์ประสานส่งต่อให้สอดคล้องกับทุกระดับ • กำลังดำเนินการศึกษาระบบ telemedicine
Emergency Medical Service • Response time ในเขตเทศบาลภายใน 10 นาที = 68.38% (เกณฑ์ มากกว่า 80 %)
พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมรับและระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน จังหวัดเลย มีรูปธรรมการวางแผนพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมรับและระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน • ซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่และการเคลื่อนย้ายทางอากาศยาน ระดับจังหวัดที่ อ.ภูกระดึง จ.เลย 9-10 กุมภาพันธ์ 2555
2. ซ้อมอุบัติเหตุหมู่ ร่วมกับอำเภอเมืองเลย ปีละครั้ง ปีงบประมาณ 2554 : 27 ธันวาคม 2554 ปีงบประมาณ 2555 กำหนดเดือนมีนาคม 2555 3. ซ้อมแผนอัคคีภัยโรงพยาบาลเลย ปีละครั้ง 4. จัดอัตรากำลังเสริมช่วงเทศกาลสำคัญๆ เช่น วันปีใหม่ สงกรานต์ งานเทศกาลดอกฝ้ายบาน
ทีม ALS และ FR ชนะเลิศ EMS Rally ระดับเขตที่จังหวัดอุดรธานี วันที่ 7 ก.พ.55 เป็นตัวแทนเขต 10 เข้าร่วมแข่งขันระดับประเทศ วันที่ 23-24 ก.พ.55
เปิด ศสม.(โรงพยาบาลเลย สาขากุดป่อง) 17 ส.ค.2552 เปิด ศสม.(สาขาศุขศาลา) 9 ม.ค. 2555 โดยทีมโรงพยาบาลเลย
สัดส่วนการรับบริการในรพ.สต. ต่อ ร.พ.เลย DM สัดส่วนการรับยาในรพ.สต. ต่อ ร.พ.เลย ร้อยละ38.48 ต่อ ร้อยละ 61.52 Hypertension สัดส่วนการรับยาในรพ.สต. ต่อ ร.พ.เลย ร้อยละ44.52 ต่อ ร้อยละ 55.48
คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลเลย
แผนพัฒนาคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลเลย 1.โครงการดูแลสุขภาพเท้าในชุมชน 2.โครงการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน 3.โครงการคัดกรองเบาหวานขึ้นจอประสาทตาร่วมกับคลินิกตา 4.จัดตั้งคลินิกโรคไต
ผู้ป่วย DM และ HT ใน รพ.สต.อ.เมืองเลย HT DM
ร้อยละความครอบคลุมการเข้าถึงบริการด้านคุณภาพร้อยละความครอบคลุมการเข้าถึงบริการด้านคุณภาพ การตรวจภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน
ปัญหาอุปสรรค ระบบการจัดการเรื่องยา มีความล่าช้า เนื่องจากมีเภสัชกรชุมชนทำหน้าที่เพียงคนเดียว มีการนัดรับยาจากหน่วยบริการปฐมภูมิพร้อมกันหลายแห่ง มีจำนวนผู้ป่วยจำนวนมาก การแก้ไข โดยจัดตารางการเข้ามาปรึกษา – การรับยา ชัดเจน เลือกพื้นที่ให้บริการที่มีจำนวนผู้ป่วยไม่มากเกินไปในแต่ละครั้ง
ปัญหาอุปสรรค 2. การตรวจเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ไม่ครอบคลุม ใช้เวลาการตรวจนาน ผู้ตรวจต้องมีทักษะการประเมินเท้าที่ถูกต้อง การแก้ไข ปี 2555 มีแผนการจัดทบทวนการตรวจเท้า โดยทีมเวชศาสตร์ฟื้นฟู ร.พ.เลย จัดทีมตรวจเท้า คปสอ.เมืองเลย ออกโมบายตรวจในรพ.สต. อาจทำพร้อมการถ่ายภาพจอประสาทตา
ปัญหาอุปสรรค • การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างรพ.สต. กับ ร.พ.แม่ข่าย แก้ไข แม่ข่ายคืนข้อมูลให้ทุกรพ.สต. รายไตรมาส พื้นที่ปรับฐานข้อมูลเป็นปัจจุบันส่งกลับมาที่กลุ่มงานเวชกรรมสังคม กรณีการรับยาในคลินิกรพ.สต.และเครือข่าย ใช้สมุดประจำตัวผู้ป่วยสื่อสาร ระหว่างพื้นที่กับแม่ข่าย แผนส่งข้อมูลเป็นFile จากการลงข้อมูลในHosXP-PCU และนำเข้า D-Surveillance
STEMI แผนพัฒนา ให้ SK ใน รพช.ที่มีอายุรแพทย์หรือ รพช.ที่มีศักยภาพ
อัตราการได้รับ Streptokinase ร้อยละ
อัตราได้รับ SK ภายใน 30 นาที ร้อยละ
อัตราการได้รับ SK ภายใน 12 ชั่วโมง ร้อยละ
อัตราตายผู้ป่วย STEMI ร้อยละ
Stroke แผนพัฒนา มีผู้ป่วยบางรายเข้าข่ายแต่ไม่ได้รับยา แก้ไข ทบทวนปัญหาทุกเดือนจัดประชุมวิชาการให้ความรู้ผู้ที่เกี่ยวข้อง
Ca Cervix ตำบลกุดป่อง อ.เมือง จ.เลย แผนพัฒนา เน้นกลุ่มที่ยังไม่เคยตรวจ โดยการปรับเปลี่ยนทัศนคติ เสริมแรงจูงใจทางบวก มีเครือข่ายแกนนำส่งเสริมสุขภาพสตรี/ อสม.