260 likes | 417 Views
การยกระดับคุณภาพโรงเรียน สู่มาตรฐานสากล. วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เวลา ๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ณ โรงแรมอะเดรียติค พาเลซ กรุงเทพมหานคร. สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. นายนคร ตังคะพิภพ.
E N D
การยกระดับคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากลการยกระดับคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เวลา ๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ณ โรงแรมอะเดรียติค พาเลซ กรุงเทพมหานคร สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายนคร ตังคะพิภพ
คิดถึงตัวเรา(โรงเรียนเรา) ก้าวอย่างไรได้ผล...แต่ไม่ยุ่งยาก • โรงเรียนใหญ่ โรงเรียน ดี เด่น ดัง มีวัฒนธรรมการทำงานเดิม • ปรับตัวบ้าง ต้องเห็นทางตลอดแนว....(ครูทุกคนเห็นพ้อง) • ของดี..ของเดิม เพียง Reorganize ทำให้ก้าวกระโดด • ยุทธศาสตร์ คำหรู แต่ไม่ใช่ของใหม่ในโรงเรียนเก่า • จังหวะนี้เป็นโอกาสอย่าให้จุดอ่อนบางจุดหลุดลอยไปจากการปรับ • ไม่ควรกวนจุดแข็งให้สับสน เพียงนำมาต่อติดในกลยุทธ์ก็ใช้ได้ นำองค์กร สร้างกลยุทธ์ วัด/วิเคราะห์/จัดระบบ เน้นผู้เรียน จัดกระบวนการ ขับเคลื่อนครู ครูขับเคลื่อน เล็งผลลัพธ์ นายนคร ตังคะพิภพ
มองเห็นกลุ่มเป้าหมายทั่วทั้งประเทศก่อนจึงค่อย ๆ ย้อนกลับมามองให้แคบลง • เห็นประเทศไทยในสังคมโลก • เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน • เห็นเด็กไทยทุกกลุ่มในประเทศ • เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. • เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ • เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง • เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม เห็นประเทศไทยในสังคมโลก นายนคร ตังคะพิภพ
โลกยุคใหม่ Globalization EDUCATION เน้นระบบการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ในการผลิตกำลังคน COMPETITION เน้นการแข่งขัน ซึ่งต้องอาศัยคุณภาพกำลังคน อยู่ดี แบบไทย CHANGE จำเป็นต้องเปลี่ยนระบบการจัดการ/หลักสูตร/วิธีการ
มองเห็นกลุ่มเป้าหมายทั่วทั้งประเทศก่อนจึงค่อย ๆ ย้อนกลับมามองให้แคบลง • เห็นประเทศไทยในสังคมโลก • เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน • เห็นเด็กไทยทุกกลุ่มในประเทศ • เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. • เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ • เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง • เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน นายนคร ตังคะพิภพ
เห็นช่องทางปรับหลักสูตร/แนวทางเห็นช่องทางปรับหลักสูตร/แนวทาง รู้ เข้าใจ อธิบายได้ จัดรูปแบบการดำเนินงาน-ลงมือพัฒนา-วิเคราะห์ต่อเนื่อง
ASEAN + 3 Japan (ญี่ปุ่น) KOR (เกาหลีใต้) China (จีน) ค้นหา สิ่งเปลี่ยนไป ไม่เพียงประวัติศาสตร์ เพื่อ รู้เขา รู้เรา (ประชากร กำแพงกั้น โลจิสติกส์(วิศวกรรม บริหารธุรกิจ สาสนเทศ)ฯลฯ) นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร แต่...จะแน่ใจได้อย่างไรว่า จะทำได้ยั่งยืน
มองเห็นกลุ่มเป้าหมายทั่วทั้งประเทศก่อนจึงค่อย ๆ ย้อนกลับมามองให้แคบลง • เห็นประเทศไทยในสังคมโลก • เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน • เห็นเด็กไทยในประเทศทุกกลุ่ม • เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. • เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ • เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง • เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม เห็นเด็กไทยในประเทศทุกกลุ่ม เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ นายนคร ตังคะพิภพ
นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร ปรับให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ ประเทศไทย มีพื้นที่แตกต่างอย่างไร ประเทศไทย มีอะไรเด่น/ด้อย ครูมิติเดิม/มิติใหม่ สร้างได้ แต่ใช้เวลา ช่องว่างวิถีชีวิตแตกต่าง จัดการได้ด้วยการศึกษา ที่ ผู้นำทุกระดับ รับลูกกันเป็นทอด ๆ ผู้นำทางวิชาการ คือ ผู้สร้างสรรค์ ความรู้ สมรรถนะ และจริยธรรม ด้วยวิธีการที่เกิดผล ต่ออนาคตของคน
มองเห็นกลุ่มเป้าหมายทั่วทั้งประเทศก่อนจึงค่อย ๆ ย้อนกลับมามองให้แคบลง • เห็นประเทศไทยในสังคมโลก • เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน • เห็นเด็กไทยทุกกลุ่มในประเทศ • เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. • เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ • เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง • เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง นายนคร ตังคะพิภพ
ผู้นำทางวิชาการ คือ ผู้สร้างสรรค์ ความรู้ สมรรถนะ และจริยธรรม ด้วยวิธีการที่เกิดผล ต่ออนาคตของคน นายนคร ตังคะพิภพ
มองเห็นกลุ่มเป้าหมายทั่วทั้งประเทศก่อนจึงค่อย ๆ ย้อนกลับมามองให้แคบลง • เห็นประเทศไทยในสังคมโลก • เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน • เห็นเด็กไทยทุกกลุ่มในประเทศ • เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. • เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ • เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง • เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม นายนคร ตังคะพิภพ
ความซับซ้อนของเซลล์สมอง สู่ การจัดการเรียนรู้ ศักยภาพทางสมองเกี่ยวข้องการรับ/เรียนรู้ ตามขีดความสามารถ
ส่งเสริมเส้นทางตามศักยภาพนักเรียนจัดกลุ่มตามแนวคิดของ Gardner สำรวจ/ปรับตัว ในชั้น ปฐมวัย-ม.ต้น ความคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking การคิดแบบวิทยาศาสตร์(Scientific Thinking) ตัดสินใจสู่เส้นทางตรงกับศักยภาพตน ในชั้น ม.ปลาย เตรียมอาชีพในอนาคตในขั้นอุดมศึกษาได้บรรลุผลและมีวิถีชีวิตที่มีความสุข
เชื่อว่า... เพียงให้ความสำคัญต่อครูให้ถูกกลุ่ม ก็สามารถทำงานได้อย่างไม่กดดัน ความหลากหลายเป็นโอกาสเปรียบเทียบ ความเป็นมาตรฐานไทยสู่สากล แต่เป็นจุดที่ต้องตระหนักในเอกภาพ + เครือข่ายร่วมมือจึงจำเป็น หน่วยเหนือผ่อนคลายระเบียบจึงสำคัญ นายนคร ตังคะพิภพ
หลักสูตรคือจุดปรับสำคัญสู่การเปลี่ยนแปลงเด็กไทยหลักสูตรคือจุดปรับสำคัญสู่การเปลี่ยนแปลงเด็กไทย เน้นเฉพาะทางให้เป็นเลิศ (วิทย์ คณิต ภาษา อาชีพ ดนตรี กีฬา ศิลปะ) ปรับเนื้อหา/วิธีการ ให้มีความเข้มข้น เทียบมาตรฐานสากล ทฤษฎีองค์ความรู้(Theory of Knowledge) การเขียนเรียงความชั้นสูง( Extended Essay) โลกศึกษา(Global Education) การสร้างโครงงาน(Create Project Work) นายนคร ตังคะพิภพ
มาตรฐานของผู้เรียนสู่สากล ต้องมีความเป็นผู้นำในแต่ละมาตรฐานทั่วไป และมีคุณภาพสูงอย่างน้อยใน ๔ ด้านต่อไปนี้ (๑)ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษในทุกระดับการศึกษา และภาษาต่างประเทศที่ ๒ อีก ๑ ภาษา ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย (๒) การใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้และสร้างสรรค์ผลงาน • มีความรู้วิชาการและวิชาพื้นฐานอาชีพในขั้นการคิดวิเคราะห์ • หรือสร้างสรรค์ผลงาน (๔) ใจกว้าง ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นและมีจิตสำนึกสาธารณะ นายนคร ตังคะพิภพ
The Four P’s The Four C’s P Product Strategy C Customer Solution คุณภาพนักเรียน เส้นทางเลือกของผู้เรียน P Place Strategy คุณภาพสถานศึกษา C Customer Cost มาตรฐาน/ข้อกำหนด P Promotion Strategy C Communication คุณภาพการจัดโอกาส กลยุทธ์สื่อสารจูงใจ P Price Strategy C Convenience ประสิทธิภาพ/คุ้มค่า ง่ายต่อการเข้าใจ/เข้าถึง อ้างถึง เอกสารบรรยายของ สมบูรณ์ ศรีอนุรักษ์วงศ์ ม.รามคำแหง
The Four P’s The Four C’s ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนเหล่านี้ ต้องมีกระบวนการและเครื่องมือที่ดี หาก ผู้นำสถานศึกษา คิด/รวบรวม/จัดระบบ/ใช้ คาดว่า ยกระดับคุณภาพผู้เรียนสู่มาตรฐานสากลได้ P Product Strategy C Customer Solution คุณภาพนักเรียน เส้นทางเลือกของผู้เรียน P Place Strategy คุณภาพสถานศึกษา C Customer Cost มาตรฐาน/ข้อกำหนด P Promotion Strategy C Communication คุณภาพการจัดโอกาส กลยุทธ์สื่อสารจูงใจ P Price Strategy C Convenience ประสิทธิภาพ/คุ้มค่า ง่ายต่อการเข้าใจ/เข้าถึง อ้างถึง เอกสารบรรยายของ สมบูรณ์ ศรีอนุรักษ์วงศ์ ม.รามคำแหง นายนคร ตังคะพิภพ
การจัดการเชิงกลยุทธ์ TQA Organization จัดให้เป็นภาพประทับตา/ใช้อย่างประทับใจ • ปัจจัยภายนอก • เศรษฐกิจ • สังคม • การเมือง • ธรรมชาติ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Strategic BSC HRM HRD ปัจจัยภายใน ธรรมาภิบาล Vision Values Goal การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น บุคลากร การนำองค์กร ผลลัพธ์ มอก. HNQA Map KPI การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้นผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CRM Customer Survey HA/HPH ISO QC/TPM Tools & STD Six sigma วัด วิเคราะห์ สารสนเทศ และจัดการความรู้ MIS DSS KM
IT/ภาษา ….สู่ชีวิตการบริหาร-การเรียนรู้ ก่อนปี 2015 รายงาน ความก้าวหน้า /พัฒนายั่งยืน 3 2 1 สร้างความ ตระหนัก กลุ่มพัฒนา ผู้บริหาร/ครู Trainer /RovingT coaching 4 พัฒนา Coaching กลุ่มวางใจ กลุ่มห่วงใย กลุ่มใกล้ชิด ภาษา IT/Eng C-Learning/ E-Learning/WCSSP IT/Eng เพื่อการบริหาร/เรียนรู้ แรงบันดาลใจ :IT& Eng เพื่อการบริหาร/เรียนรู้ krusiriwan@hotmail.com 7’JAN’2010
การจัดตั้งเครือข่ายพัฒนา 3 ระดับ ๑.เครือข่ายกลุ่มภาคีภายในโรงเรียนประเภทเดียวกัน -จำแนกตามพื้นที่กลุ่มจังหวัด และเชื่อมโยงกับเครือข่ายอุดมศึกษา -จำแนกตามบริบท และวัตถุประสงค์ที่มีทิศทางเดียวกัน ๒.เครือข่ายภาคีแม่ข่ายสู่ลูกข่ายอย่างน้อย ๑ โรงเรียน/ปี ๓. เครือข่าย ทวิภาคีกับโรงเรียนดีในต่างประเทศมีบันทึกความร่วมมือ นายนคร ตังคะพิภพ
แนวทางการขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จแนวทางการขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จ TQA Organization ปรับปรุงงาน อย่างต่อเนื่อง 9 วัดและประเมินผล การดำเนินงาน 8 ปฏิบัติตามแผน ปฏิบัติการ 7 เสริมศักยภาพ ภายในองค์การ 6 วางแผนปฏิบัติการ ประจำปี 5 วางแผนกลยุทธ์ ระยะสั้นและยาว 4 ประเมินสภาพ โรงเรียนในปัจจุบัน 3 กระตุ้นให้เกิด การปรับปรุง 2 หาความต้องการ นักเรียน&ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1 กระบวนการทำงาน ในองค์กรใช้หลักการของTQM : 9 ขั้นตอน ในการพัฒนา คุณภาพบริหาร World -class ที่มา : อาจารย์ศุภชัย เมืองรักษ์ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ