280 likes | 848 Views
หลักการเกิดโรค. สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. หลักการเกิดโรค. สาเหตุการเกิดโรค ปัจจัยที่มีอิธิพลต่อการเกิดโรค ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคติดเชื้อ การถ่ายทอดโรค ธรรมชาติการเกิดโรค. Agent. Host. Environment. สาเหตุการเกิดโรค.
E N D
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
หลักการเกิดโรค • สาเหตุการเกิดโรค • ปัจจัยที่มีอิธิพลต่อการเกิดโรค • ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคติดเชื้อ • การถ่ายทอดโรค • ธรรมชาติการเกิดโรค
Agent Host Environment สาเหตุการเกิดโรค
ปัจจัยที่มีอิธิพลต่อการเกิดโรคปัจจัยที่มีอิธิพลต่อการเกิดโรค • มี 4 ลักษณะ • Predisposing factor เช่น อายุ เพศ ประวัติเคยมีการเจ็บป่วยมาก่อน • Enabling factor เช่น ฐานะยากจน ความรู้น้อย ขาดสารอาหาร สภาพแวดล้อมไม่ดี การดูแลทางการแพทย์ไม่ทั่วถึง • Precipitating factor เช่น การอยู่ใกล้ชิดผู้ป่วย การสัมผัสผู้ป่วย • Reinforcing factor เช่น การสัมผัสกับผู้ป่วยซ้ำ และการทำงานหนักเกินไปทำให้สุขภาพเสื่อมโทรม อาจกระตุ้นให้เกิดการเจ็บป่วยได้
Host Agent Environment การเสียสมดุลระหว่างองค์ประกอบของการเกิดโรค • ความสามารถในการแพร่เชื้อของสิ่งที่ทำให้เกิดโรคเพิ่มขึ้น
Agent Host Environment การเสียสมดุลระหว่างองค์ประกอบของการเกิดโรค • คนที่มีความไวในการเกิดโรคเพิ่มขึ้นในประชากร เช่น คนอ่อนแอ คนที่ไม่ได้รับวัคซีน คนสูงอายุ หรือเด็กอ่อนเพิ่มขึ้น
Host Agent Environment การเสียสมดุลระหว่างองค์ประกอบของการเกิดโรค • การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมช่วยสนับสนุนการแพร่กระจายของเชื้อ
Agent Host Environment การเสียสมดุลระหว่างองค์ประกอบของการเกิดโรค • การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทำให้ความไวของการติดเชื้อของสังขารเพิ่มขึ้น • เช่น ฤดูฝนทำให้คนไม่สามาถรออกไปนอกบ้านได้ ต้องอยู่รวมกันหนาแน่น เป็นการเพิ่มโอกาสในการแพร่โรค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรคปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค ได้รับเชื้อแบคที่เรีย แทรกซึมเนื้อเยื่อ ยากจน สังขารที่อ่อนแอ การติดเชื้อ ป่วย พันธุกรรม ที่อยู่แออัด ทุพโภชนาการ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคติดเชื้อปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคติดเชื้อ • สังขาร หรือมนุษย์ (Host) • สิ่งแวดล้อม (Environment)
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคติดเชื้อปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคติดเชื้อ Agent 1.Pathogenicity คือ ความสามารถในการทำให้เกิดโรค ดูจากสัดส่วนคนเป็นโรคต่อคนที่สัมผัสโรค 2.Virulence ความรุนแรงของโรค คือ ความสามารถที่จะแทรกซึม และทำให้เกิดโรค 3.Infective dose ปริมาณเชื้อโรค 4.Reservoir รังโรค คือ ที่อยู่เพื่อเจริญเติบโตของเชื้อ 5.Source แหล่งโรค คือ คนหรือวัตถุที่ไปรับเชื้อมา 6.Carrier พาหะ คือ ผู้ป่วยที่หายจากโรคแล้วแต่ยังมีเชื้อในร่างกาย หรือผู้ติดเชื้อแต่ไม่มีอาการ
การถ่ายทอดโรค (Transmission) • การแพร่ของเชื้อจากที่หนึ่งไปสู่ที่หนึ่ง หรือจากคนสู่คน มี 2 วิธี • การถ่ายทอดโดยตรง (Direct transmission) การถ่ายทอดจากคนที่ติดเชื้อ หรือรังโรค ไปสู่คนอื่นโดยตรง ผ่านประสาทสัมผัส ไอ จาม เลือด รก • การถ่ายทอดโดยอ้อม (Indirect transmission) แบ่งเป็น 2.1 นำโดยวัตถุ(Vehicle-borne) 2.2 นำโดยแมลง(Vector-borne) 2.3 นำโดยอากาศระยะไกล (Long distance airborne transmission )
The Natural History of Disease(ธรรมชาติของโรค)
ธรรมชาติการเกิดโรค คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง • ระยะพัก (Latent period) • ระยะติดต่อ (Infections period) • ระยะฟักตัว (Incubation period) • พาหะ (Carrier) • ผู้ป่วยติดเชื้อที่ไม่มีอาการ (Inapparent case or silent infection) • ผู้สัมผัส (Contact) • อัตราป่วยของผู้สัมผัสกับผู้ป่วยรายแรก (Secondary attact rate)
ระยะเวลาของกระบวนการเกิดโรคระยะเวลาของกระบวนการเกิดโรค ไม่เป็นโรค เสียชีวิต ฟื้น มีภูมิต่อเชื้อ พาหะ กระบวนการเกิดโรค เวลาที่สัมผัส ระยะไวต่อการรับเชื้อ ระยะฟักตัว ระยะมีอาการ ไม่ติดเชื้อ กำจัดเชื้อหมดไป ตาย หาย กระบวนการติดเชื้อ ระยะไวต่อการรับเชื้อ ระยะพัก ระยะติดต่อ เวลา