740 likes | 1.08k Views
กรอบการประเมินผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556. นายเอกราช เอี่ยมเอื้อ ยุทธ หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์ การพัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครสวรรค์. วันที่ 27 มีนาคม 2556 ณ โรงแรม เบเวอร์ ลี่ ฮิลล์ ปาร์ค อ.เมืองฯ จ.นครสวรรค์.
E N D
กรอบการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 นายเอกราช เอี่ยมเอื้อยุทธ หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครสวรรค์ วันที่27 มีนาคม 2556 ณ โรงแรมเบเวอร์ลี่ ฮิลล์ปาร์ค อ.เมืองฯ จ.นครสวรรค์
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2556 • การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) • นโยบายเร่งด่วน และภารกิจกระทรวง • (ร้อยละ 30+A) • ภารกิจกรม และJointKPI กระทรวง(ถ้ามี) • (ร้อยละ 27-A) • ประชาคมอาเซียน (ร้อยละ 3) กรณีไม่มี • ตัวชี้วัดนี้ให้นำน้ำหนักไปรวมกับตัวชี้วัดกรม • (A = ตัวชี้วัดระดับกระทรวงที่เป็นภารกิจ • หลักของกรม) • การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) • ร้อยละความพึงพอใจของ • ผู้รับบริการ (ร้อยละ 10) มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) • การประเมินประสิทธิภาพ • (ร้อยละ 15) • ต้นทุนต่อหน่วย (ร้อยละ 3) • เบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ร้อยละ 2.5) • ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบ • กับแผน (ร้อยละ 2.5) • ประหยัดพลังงาน (ร้อยละ 3) • การปรับปรุงกระบวนการ (ร้อยละ 4) • การพัฒนาองค์การ • (ร้อยละ 15) • การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร (ร้อยละ 5) • การพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ (ร้อยละ 3) • การพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ • (ร้อยละ 3) • การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ • (ร้อยละ 4)
ตัวชี้วัดนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลในภารกิจหลักตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ของกระทรวงมหาดไทย
ตัวชี้วัดระดับกรม ปี 2556 • ประกอบด้วย 4 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ร้อยละของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ มีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดที่ 1.2.2 ร้อยละที่ลดลงของครัวเรือนยากจนเป้าหมาย ที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 ร้อยละของผลิตภัณฑ์ชุมชนเป้าหมายผ่าน การรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ตัวชี้วัดที่ 1.2.4 การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
1. นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและภารกิจหลัก (น้ำหนัก : ร้อยละ 60) A = ตัวชี้วัดระดับกระทรวงที่เป็นภารกิจหลักของกรม
คำอธิบาย: พิจารณาจากมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ของกลุ่มจังหวัดหรือจังหวัด เปรียบเทียบกับมูลค่าจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) เฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ.2553-2555)
เกณฑ์การให้คะแนน : แบ่งเกณฑ์เป็น 5 ระดับ
รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน:รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน:
แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล:แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล:
ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น เจ้าภาพหลัก : กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น หน่วยวัด : ระดับ น้ำหนัก : ร้อยละ 15 รายได้ครัวเรือนทั้งประเทศ :ใช้ฐานข้อมูลรายได้ครัวเรือนทั้งประเทศ ปี 2554 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ (รายได้เฉลี่ย/คน/ปี = 69,708 บาท) มิติที่ประชุมกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2556 มอบให้ สป.มท. เป็นหน่วยบูรณาการประสานการขับเคลื่อนตัวชี้วัดโดยให้กรมการพัฒนาชุมชนเป็นเจ้าภาพหลัก กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และกรมการปกครอง เป็นหน่วยร่วมดำเนินการขับเคลื่อนในพื้นที่
เกณฑ์การให้คะแนน : ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 2.5 ต่อ 1 คะแนน ดังนี้
แหล่งข้อมูล : • ข้อมูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ.2554 • : สำนักงานสถิติแห่งชาติ • ๒. ข้อมูล จปฐ. : ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน • ๓. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เป็นหน่วยงานบูรณาการขับเคลื่อน • กิจกรรมงานพัฒนาชุมชนในพื้นที่ • ๔. กองแผนงาน และศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วย • รับผิดชอบหลักในการสนับสนุนประสานการขับเคลื่อนกิจกรรมและ • เป็นหน่วยรวบรวมข้อมูลระดับประเทศ
1. นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและภารกิจหลัก (น้ำหนัก : ร้อยละ 60)
ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ร้อยละของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบมีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น (น้ำหนัก : ร้อยละ 6)
เกณฑ์การวัดหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเกณฑ์การวัดหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ คำอธิบาย การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ หมายถึง หมู่บ้านที่ได้รับการพัฒนาเป็นหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดของกระทรวงมหาดไทย(4 ด้าน 23 ตัวชี้วัด)เพื่อเป็นต้นแบบสำหรับการขยายผลการดำเนินงานการพัฒนาหมู่บ้านอื่นๆ ต่อไป หมู่บ้านต้องผ่านเกณฑ์การประเมินตามตัวชี้วัดที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด
คำอธิบาย จำนวนหมู่บ้านที่ดำเนินการตามคำรับรองฯ รวมทั้งสิ้น จำนวน 3,511 หมู่บ้าน แยกเป็น ปี 2553 จำนวน 877 หมู่บ้าน ปี 2554 จำนวน 878 หมู่บ้าน ปี 2555 จำนวน 878 หมู่บ้าน ปี 2556 จำนวน 878 หมู่บ้าน
คือ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบต้องมีผลการประเมินตามตัวชี้วัดที่กรมการพัฒนาชุมชนกำหนดเพิ่มขึ้น โดยการเปรียบเทียบผลการประเมินก่อนการดำเนินการพัฒนาหมู่บ้าน และหลังการพัฒนาหมู่บ้าน จำนวน 2 ครั้ง วิธีการประเมิน : ประเมินแบบมีส่วนร่วม ตัวชี้วัดการประเมิน จำนวน 6องค์ประกอบ 22 ตัวชี้วัด การประเมินครั้งที่ 1 เดือน ก.พ.- มี.ค. ประเมินครั้งที่ 2เดือน ก.ค. - ส.ค
90% เป้าหมาย ร้อยละ 90 ของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ มีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น (3,160 หมู่บ้าน) สูตรการคำนวณ เป้าหมาย จำนวนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบที่มีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น X 100 จำนวนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบทั้งหมด (3,511 หมู่บ้าน)
คำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนนคำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน 1 มีการประเมินความสุขมวลรวม ครั้งที่ 2 และความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 (จำนวน 2,809 หมู่บ้าน) ระดับคะแนน 2 มีการประเมินความสุขมวลรวม ครั้งที่ 2 และความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 82.5 (จำนวน 2,897 หมู่บ้าน) ระดับคะแนน 3 มีการประเมินความสุขมวลรวม ครั้งที่ 2 และความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 85 (จำนวน 2,985 หมู่บ้าน)
ระดับคะแนน 4 มีการประเมินความสุขมวลรวม ครั้งที่ 2 และความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 87.5 (จำนวน 3,073 หมู่บ้าน) ระดับคะแนน 5 มีการประเมินความสุขมวลรวม ครั้งที่ 2 และความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 90 (จำนวน 3,160 หมู่บ้าน)
กิจกรรมสนับสนุนตัวชี้วัดกิจกรรมสนับสนุนตัวชี้วัด พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ สร้างวิทยากรกระบวนการ พัฒนาหมู่บ้าน สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ สนับสนุนการรักษามาตรฐานการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี 2552-2555
ตัวชี้วัดที่ ๑.๒.๒ ร้อยละที่ลดลงของครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. หน่วยวัด: จำนวน น้ำหนัก : ร้อยละ ๘ ครัวเรือนยากจนเป้าหมาย:ครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า ๓๐,๐๐๐บาท/คน/ปี จากการสำรวจข้อมูล จปฐ. ปี ๒๕๕๕ จำนวน ๑๐๕,๓๔๕ครัวเรือน ระดับความสำเร็จของการลดลงของครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. พิจารณาจากการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เป้าชีวิต จัดทำเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิต ของส่วนราชการ ชุมชน ภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง จนสามารถลดจำนวนครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี หรือได้รับการสงเคราะห์ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖
เกณฑ์การให้คะแนน: ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ ๕ ต่อ ๑ คะแนน
เงื่อนไข : ๑. กรณีพื้นที่ใดมีครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี ในปี ๒๕๕๕ ย้ายออกนอกพื้นที่ หรือเสียชีวิตและไม่เหลือสมาชิกรายอื่นในครัวเรือนแล้ว ให้นำจำนวนครัวเรือนดังกล่าวไปหักออกจากจำนวนครัวเรือนเป้าหมายในปี 2555 (105,345 ครัวเรือน) คงเหลือเท่าใดจึงใช้เป็นฐานคำนวณค่าคะแนน ๒. หากหัวหน้าครัวเรือนยากจนเป้าหมายเสียชีวิตแต่ยังคงเหลือสมาชิกรายอื่นอยู่ ให้ดำเนินการสนับสนุนสมาชิกคงเหลือบริหารจัดการชีวิตเพื่อยกระดับรายได้ให้ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด
แหล่งข้อมูล : ๑. ข้อมูลครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ด้านรายได้ ปี ๒๕๕๕ จำนวน ๑๐๕,๓๔๕ ครัวเรือน ได้จากการประมวลผลการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี ๒๕๕๕ โดยศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ๒. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เป็นหน่วยงานในการรวบรวมข้อมูลผลการบริหาร จัดการชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการในพื้นที่จังหวัด และรายงาน กรมการพัฒนาชุมชนทราบตามแนวทางและแบบรายงานที่กำหนด ๓. กองแผนงาน เป็นหน่วยรับผิดชอบหลักในการสนับสนุน ประสานการขับเคลื่อน กิจกรรมบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ และเป็นหน่วย รวบรวมข้อมูลระดับประเทศ
วิธีการจัดเก็บข้อมูล : ๑. ให้จังหวัดรายงานผลการขับเคลื่อนตัวชี้วัดตามแบบที่กำหนด รายไตรมาส (ให้ใช้โปรแกรม ครัวเรือนยากจน ที่เว็บไซต์กรมฯ) ตามห้วงเวลาดังนี้ - ไตรมาส ๒ วันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๖ -ไตรมาส ๓ วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖ -ไตรมาส ๔ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖ ๒. ให้อำเภอ / จังหวัด เก็บข้อมูลรายได้เฉลี่ยของครัวเรือนยากจน ในเดือนกันยายน ๒๕๕๖ ตามแบบที่กำหนด
กระบวนการการขับเคลื่อนตัวชี้วัด : ด้วยการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เป้าชีวิต จัดทำเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิต งบประมาณขับเคลื่อน 63,116,400บาท กระบวนงานที่ 1 ชี้เป้าชีวิต สร้างความความเข้าใจนโยบายการแก้ไขปัญหา ความยากจน กระทรวงมหาดไทย ด้วยกระบวนการ บริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ กำหนดแนวทางการบูรณาการโครงการ/กิจกรรม/งบประมาณ โดยยึดครัวเรือนยากจนเป็นเป้าหมายร่วม 1 2 สร้างและบูรณาการทีมปฏิบัติการตำบลเพื่อเข้าถึงครัวเรือนยากจน 3 จัดเวทีตรวจสอบข้อมูลและจำแนกครัวเรือนยากจนเป้าหมาย
กระบวนงานที่ 2 จัดทำเข็มทิศชีวิต วิเคราะห์ต้นทุน ศักยภาพของครัวเรือนยากจน โดยศึกษาทางเลือกที่สอดคล้องกับศักยภาพและมีความเป็นไปได้ 1 จัดทำเข็มทิศชีวิต (แผนที่ชีวิต) และสร้างความเคารพต่อข้อผูกพันในเข็มทิศชีวิตระหว่างชุดปฏิบัติการตำบลและครัวเรือนยากจน 2 3 จัดทำสมุดบันทึกครัวเรือน (Family Folder)
กระบวนงานที่ 3 บริหารจัดการชีวิต 1 บูรณาการแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามเข็มทิศชีวิต บรรจุในแผนชุมชน แผนพัฒนาตำบล/อำเภอ/จังหวัด สนับสนุนครัวเรือนยากจนบริหารจัดการชีวิต * พัฒนาตนเองโดย : การลด ละ เลิกอบายมุข ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และส่งเสริมการออม * ชุมชน/ผู้นำชุมชนสนับสนุนโดย : กองทุนชุมชน สนับสนุนเงินทุนประกอบอาชีพแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ จัดสวัสดิการ ให้การสงเคราะห์ ลงแขก ซ่อมแซมบ้านเรือน ลงแขกช่วยแรงงาน * หน่วยงานราชการ ภาคเอกชน/มูลนิธิ สนับสนุนปัจจัยการผลิต ความรู้ เพิ่มทักษะอาชีพ และให้การสงเคราะห์ 2
กระบวนงานที่ 4 ดูแลชีวิต การติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานโดยคณะทำงานระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล และสนับสนุนชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดูแลชีวิตครัวเรือนยากจน 1 จัดเวทีนำเสนอผลงานระดับจังหวัด แสดงผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานปีต่อปี 2 สรุปผลการดำเนินงาน รายงานกรมการพัฒนาชุมชน/กระทรวงมหาดไทย ทราบ รวมถึงเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานแก่สาธารณชน 3
การติดตาม สนับสนุนการดำเนินงาน ส่วนกลาง : โดยผู้บริหารระดับกระทรวง/กรมฯ และผู้ตรวจราชการกรม ระดับจังหวัด : โดยคณะกรรมการ ศจพ.จ. ระดับอำเภอ :โดยคณะกรรมการ ศจพ.อ. ระดับตำบล :โดยทีมปฏิบัติการตำบล/ผู้นำชุมชน/ ผู้นำ อช.
ส่วนข้อมูลทั่วไป ตรวจสอบสถานะครัวเรือน วิเคราะห์ครัวเรือน จำแนกครัวเรือน เลือกหน่วยงานที่ร่วมดำเนินงาน แจ้งสถานะการดำเนินงาน แจ้งสถานะการติดตาม รายได้ที่เกิดขึ้นหลังให้ความช่วยเหลือ ระบบสารสนเทศสนับสนุนการแก้จน
เอกสารเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง:เอกสารเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง: ๑. สำเนาบันทึกการประชุม การสร้างความเข้าใจแนวทางการขับเคลื่อน การติดตามงาน และการบูรณาการการสนับสนุนครัวเรือนยากจน เป้าหมายของ ศจพ.จ/ศจพ.อ./ภาคีการพัฒนาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ๒. Family Folder ของครัวเรือนเป้าหมาย ๓. อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น คำสั่งต่างๆ , ภาพถ่ายกิจกรรม
ปัจจัยสนับสนุนการขับเคลื่อนคำรับรองปัจจัยสนับสนุนการขับเคลื่อนคำรับรอง
มิติภายนอก ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 8 ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 ร้อยละของผลิตภัณฑ์ชุมชนเป้าหมายผ่านการรับรองการปรับปรุง และพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก KBO จังหวัด
กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ปี 2555 (ยกเว้น กทม.) จำนวน 24,077กลุ่ม ดำเนินการ 5 ปี ๆ ละ 20 % ปี 2556 จำนวน 4,816 กลุ่ม การพัฒนาผลิตภัณฑ์การปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ด้านรูปแบบหรือด้านบรรจุภัณฑ์ หรือด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ เพื่อการเพิ่มมูลค่าให้มีโอกาสทาง การตลาด มากขึ้น โดยนำภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคโนโลยีที่ เหมาะสมมาประยุกต์ ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา และได้รับการรับรองจาก KBO จังหวัด การรับรองการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ KBO จังหวัด พิจารณาผลิตภัณฑ์ที่ผ่าน การปรับปรุงและพัฒนาของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมาย ตามเกณฑ์ที่กรมฯ กำหนด
เกณฑ์การให้คะแนน : แบ่งเกณฑ์เป็น 5 ระดับ คะแนนที่ 1 ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ได้ร้อยละ 64 (3,082 กลุ่ม) คะแนนที่ 2 ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ได้ร้อยละ 66.5 (3,203 กลุ่ม) คะแนนที่ 3 ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ได้ร้อยละ 69 (3,323 กลุ่ม) คะแนนที่ ๔ ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ได้ร้อยละ 71.5 (3,443 กลุ่ม) คะแนนที่ ๕ ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ได้ร้อยละ 74 (3,564 กลุ่ม)
เปรียบเทียบตัวชี้วัด ปี 2555 และ 2556
ปฏิทินการจัดส่งรายงานปฏิทินการจัดส่งรายงาน
ตัวชี้วัดที่ 1.2.4 การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด หน่วยวัด : จำนวน น้ำหนัก : ร้อยละ 3 • ตัวชี้วัดการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประกอบด้วย 7 กลยุทธ์ เป็นJoint KPI ระหว่างกระทรวง 9 กระทรวง และ 2 หน่วยงาน ในการขับเคลื่อนระดับพื้นที่ • กรมการพัฒนาชุมชน รับผิดชอบดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กลยุทธ์ 2 : การสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด • การพิจารณาผลสำเร็จของการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ใช้ผลจากการดำเนินงานภาพรวมทั้งประเทศของสำนักงาน ป.ป.ส. 2 ประการ คือ 1) ปริมาณยาเสพติดที่จับกุมได้เพิ่มขึ้น และ 2) จำนวนผู้เสพ/ผู้ติด/ผู้ค้ายาเสพติดลดลง • การให้คะแนนจะพิจารณาเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับเกณฑ์การให้คะแนน • แล้วนำผลคะแนนที่ได้คำนวณค่าคะแนนตามน้ำหนักร้อยละที่หน่วยงานได้รับ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชนภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน ในการสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด กระบวนการการขับเคลื่อนตัวชี้วัด : ด้วยการดำเนินการตามแนวทางการดำเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ประจำปี 2556
งบประมาณและแนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ฯ ปี 2556 ฐานข้อมูล ปี ๒๕๕๕ (2,734,480 บาท) 1. เสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน 1.1 ประชุมสร้างความเข้าใจเจ้าหน้าที่ (ดำเนินการแล้ว 15-17 พ.ย. 55) 1.2 ฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ฯ (ศูนย์ศึกษาการพัฒนาชุมชน) 2. จัดทำเอกสารจัดการความรู้กองทุนแม่ฯ แก้ปัญหายาเสพติด 1. (จังหวัด) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับ Bและ C 2. (จังหวัด) ประชุมเตรียมหมู่บ้านต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน 3. (อำเภอ) พัฒนาและขยายผลศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ฯ 4. (อำเภอ) สรุปบทเรียนองค์ความรู้กองทุนแม่ฯ แก้ปัญหายาเสพติด 5. (หมู่บ้าน) ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการหมู่บ้านต้นกล้าฯ (26,230,520 บาท)
แนวทางการดำเนินงานคำรับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหน่วยงาน (Internal Performance Agreement : IPA) กรมการพัฒนาชุมชนประจำปี พ.ศ. 2556