320 likes | 520 Views
2 . แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการสารสนเทศ. 2.1 ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2.2 ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : ตามขนาดทางภูมิศาสตร์, ตามหน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย, ตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล 2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
E N D
2. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการสารสนเทศ 2.1 ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2.2 ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : • ตามขนาดทางภูมิศาสตร์, ตามหน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย, ตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล 2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์, เน็ตเวิร์คการ์ด, สื่อกลางรับส่งข้อมูล, อุปกรณ์รับส่งข้อมูล, โปรโตคอล, ระบบปฏิบัติการ 2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • BUS, RING, STAR, HYBIRD, MESH • Instructor : sakda chanprasert • E-mail : sakda@kku.ac.th 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.1 ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • ระบบที่มีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่องเชื่อมต่อกัน โดยใช้สื่อกลาง และสามารถสื่อสารข้อมูลกันได้ ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในเครือข่ายร่วมกันได้ ซึ่งจะทำให้เกิดความประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.2 ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : จำแนกได้ตาม • ขนาดทางภูมิศาสตร์ • LAN, WAN • หน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย • Peer-to-Peer, Client-Server • ระดับความปลอดภัยของข้อมูล • Intranet, Internet, Extranet 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ • เน็ตเวิร์คการ์ด หรือ NIC (Network Interface Card) • สื่อกลาง และอุปกรณ์สำหรับการรับส่งข้อมูล • โปรโตคอล (Protocol) • ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System) 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : คอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ 2 เครื่องเชื่อมต่อกัน อาจเป็นคนละ Platform* • มีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะรองรับการทำงานของผู้ใช้เครื่องนั้นๆ • ถ้าต้องทำหน้าที่ Server ควรมีประสิทธิภาพสูง • Port ที่สำคัญที่ใช้ในการติดต่อกับระบบเครือข่าย • (1) PCI Port : on board, for NIC (Network Interface Card) • (2) Serial Prot : back case, for Modem (old) • (3) USB Port : back case, for Modem (new), 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ PCI Port • คอมพิวเตอร์ ช่องสัญญาณที่ใช้ติดต่อระบบเครือข่าย • (1) PCI Port : อยู่บนเมนบอร์ด ใช้เสียบ NIC • (2) Serial Port : อยู่ด้านหลังเครื่อง ใช้เสียบ Modem • (3) USB Port : อยู่ด้านหลังเครื่องใช้เสียบ Modem รุ่นใหม่ๆ Serial Port USB Port 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : • (2) เน็ตเวิร์คการ์ด หรือ NIC (Network Interface Card) หรือ แลนการ์ด (LAN Card) • เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่าย • ทำหน้าที่แปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ ให้เป็นสัญญาณที่สามารถส่งไปตามสายสัญญาณได้ • มีหลายประเภท ตามลักษณะของสายสัญญาณ เช่น สายตีเกลียวบิดคู่ สายใยแก้วนำแสง หรือบางชนิดอาจเป็นการส่งสัญญาณด้วยคลื่นวิทยุแบบไร้สาย (Wireless LAN) • มีอัตราการส่งผ่านข้อมูลหลายระดับ เช่น • 10 Mbps, 100 Mbps, 1000 Mbps • 10/100 Mbps หมายความว่าสามารถทำงานได้ทั้งที่ระดับความเร็ว 10 และ 100 Mbps ขึ้นอยู่ความเร็วของ ฮับ หรือสวิทซ์ 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : • (3) สื่อกลาง และอุปกรณ์สำหรับการรับส่งข้อมูล • (3.1) สื่อกลาง (Media) : สื่อกลางที่ใช้รับส่งข้อมูล • ประเภทสายสัญญาณ (Wire) : สายสัญญาณที่นิยมใช้ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มี 3 แบบ คือ • สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pairs) • สายโคแอ็กเชียล (Coaxial Cable) • สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) • ประเภทไร้สาย (Wireless) : ใช้อากาศเป็นสื่อนำสัญญาณ โดยส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Spectrum) แพร่กระจายไปในอากาศ • ระบบเครือข่ายท้องถิ่นแบบไร้สาย (Wireless LAN) • ระบบดาวเทียม (Satellite) 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : สายคู่บิดเกลียว ประเภทสายสัญญาณ (Wire) : • สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pairs) : นิยมใช้มากที่สุด ประกอบ ด้วยสายทองแดงที่หุ้มด้วยฉนวน 2 เส้น แล้วบิดเป็นเกลียว เพื่อลดสัญญาณรบกวน ตัวอย่างเช่น สายโทรศัพท์ (มี 2 คู่) สายที่ใช้ในระบบเครือข่ายอีเทอร์เน็ต (Ethernet) คือ สายคู่บิดเกลียวไม่มีเปลือกหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair) มีสายทองแดง 4 คู่ • สายโคแอ็กเชียล (Coaxial Cable) :มีลักษณะคล้ายกับสายอากาศทีวีในปัจจุบัน มีแกนกลางเป็นทองแดง ชั้นที่สองเป็นฉนวน ชั้นที่สามเป็นตาข่ายโลหะ ชั้นนอกสุดเป็นวัสดุป้องกันสายสัญญาณ นิยมใช้มากในเครือข่ายท้องถิ่น (Lan) สมัยแรกๆ ที่ผ่านมา สายโคแอ็กเชียล 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : สายคู่บิดเกลียวนำไปใช้ได้ใน Ethernet,ATM,ISDN,Broadband http://www.interlink.co.th/pdf/pdf_00461.pdf 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : ประเภทสายสัญญาณ (Wire) : • สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic): • มีแกนกลางเป็นท่อที่ผลิตจากแก้วหรือพลาสติกใส เพื่อเป็นสื่อนำสัญญาณ • ใช้แสงเป็นสัญญาณ ไม่ถูกรบกวนโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และมีความเชื่อถือได้สูง • เหมาะสำหรับนำมาใช้ในการส่งข้อมูลภายนอกอาคาร • นิยมใช้เป็นเส้นทางหลัก (Backbone) ของระบบเครือข่ายที่มีระยะทางไกล, การเดินระหว่างอาคาร • ข้อเสีย : • ติดตั้งยาก (ผู้ชำนาญ, ระยะสายพอดี, โค้งงอ, ดึง) • ซ่อมบำรุงยาก (ไม่มีตัดต่อ, ใช้อุปกรณ์/เทคนิคพิเศษ) • ราคาแพงกว่าสายที่มีแกนเป็นโลหะ 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : สื่อกลาง (Media) : สื่อกลางที่ใช้รับส่งข้อมูล • ประเภทไร้สาย (Wireless) : ใช้อากาศเป็นสื่อนำสัญญาณ โดยส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Spectrum) แพร่กระจายไปในอากาศ • ระบบเครือข่ายท้องถิ่นแบบไร้สาย (Wireless LAN): • ใช้คลื่นวิทยุ (Radio Frequency) • ความถี่ 2.4 GHz • ใช้อากาศเป็นตัวนำสัญญาณ • ปัจจุบันสามารถรับส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วถึง 54 Mbps ด้วยระยะทางประมาณ 100 M ในที่โล่ง 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : สื่อกลาง (Media) : สื่อกลางที่ใช้รับส่งข้อมูล • ประเภทไร้สาย (Wireless) : • ระบบดาวเทียม (Satellite) : • ส่งสัญญาณคลื่นไมโครเวฟ (Microwave) • ความถี่ 10 GHz • ผ่านตัวนำสัญญาณที่เป็นอากาศ จากสถานีภาคพื้นดิน ไปยังสถานีดาวเทียม • คลื่นไมโครเวฟมีข้อดีที่สามารถส่งสัญญาณได้เป็นระยะทางไกล • ข้อเสียของการส่งสัญญาณผ่านอากาศคือ สัญญาณจะถูกดูดกลืนเมื่อผ่านพายุฝน • การล่าช้า (Delay) ของการส่งสัญญาณจากสถานีภาคพื้นดิน ไปยังสถานีดาวเทียมต้องใช้เวลา 270 มิลลิวินาที 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
ข้อพิจารณาในการเลือกใช้สื่อกลางข้อพิจารณาในการเลือกใช้สื่อกลาง การเลือกใช้สื่อกลางใน LAN • ในอดีต ใช้สาย Coaxial ความเร็ว 10 Mbps • ปัจจุบัน ใช้สาย UTP ความเร็ว 100 Mbps และกำลังพัฒนาให้มีความเร็วเพิ่มเป็น 1000 Mbps • สายใยแก้วนำแสง ใช้ภายนอกอาคาร และเส้นทางหลัก (Backbone) 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : • (3.2) อุปกรณ์สำหรับการรับส่งข้อมูล • อุปกรณ์รับส่งข้อมูลในเครือข่าย (Network device) : • ทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับส่งข้อมูล เช่น • เส้นทางการรับส่งข้อมูล • การทวนสัญญาณ • การขยายสัญญาณ • อุปกรณ์รับส่งข้อมูลในเครือข่ายที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ฮับ (Hub), สวิตซ์ (Switch), เราท์เตอร์ (Router) • HUB • Switch HUB • Router 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : • อุปกรณ์สำหรับการรับส่งข้อมูล • HUB หรือ แชร์ฮับ (Share Hub) • ใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว (Star) • ทำหน้าที่รับส่งข้อมูลจากพอร์ตใดๆ ไปยังพอร์ตอื่นที่เหลือ • ทำงานแบบแบ่งปัน (share) แบนด์วิธ (Bandwidth) * • ข้อจำกัดในการทำงาน คือ ฮับส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในทุกพอร์ต คอมพิวเตอร์จะตรวจสอบข้อมูล ไม่ใช่ก็ทิ้งข้อมูลไป ซึ่งจะเป็นผลให้ระบบเครือข่ายช้าลง • ฮับที่นิยมใช้ใน LAN มีอัตราการรับส่งข้อมูลที่ 10/100 Mbps หมายถึง ฮับสามารถรองรับการเชื่อมต่อที่ความเร็ว 10 Mbps และ 100 Mbps * หมายถึง ปริมาณข้อมูลที่ไหลเข้าหรือออกจากเครือข่ายในช่วงเวลาหนึ่ง มีค่าเป็นบิตต่อวินาที (bps) 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : • อุปกรณ์สำหรับการรับส่งข้อมูล • Switch HUB • สวิตซ์ (Switch) หรือ สวิตซ์ฮับ (Switch Hub) • ทำหน้าที่เช่นเดียวกับฮับ แต่มีความสามารถมากกว่า • สามารถรับข้อมูลที่มาจากพอร์ตหนึ่งแล้วส่งไปเฉพาะพอร์ตที่เป็นปลายทาง • ทำให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อในเครือข่ายไม่ต้องมีภาระในการรับและตรวจสอบข้อมูลที่ไม่ใช่ของตนเอง • ภาระการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายจึงเกิดขึ้นน้อยกว่าฮับ • สวิตซ์มีความสามารถในการทำงานในระดับเลเยอร์ 2 (เลเยอร์ของเครือข่ายจะได้อธิบายในเรื่องที่ว่าด้วย OSI) • ด้วยความสามารถอ่านข้อมูลแล้วนำส่งเฉพาะพอร์ตได้ ทำให้มีราคาที่แพงกว่าฮับ 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : • อุปกรณ์สำหรับการรับส่งข้อมูล • Router • มีความสามารถมากกว่า Hub และ Switch • สามารถบันทึกเส้นทางของข้อมูล หรือ ตารางการจัดเส้นทาง (Routing Table) ช่วยให้สามารถเลือกส่งข้อมูลไปยังปลายทางในเส้นทางที่ดีที่สุด ถ้าเส้นทางหลักขัดข้อง • สามารถส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลต่างกันได้ เช่น IP (Internet Protocol), IPX (Internet Package Exchange) และ Apple Talk • ความสามารถในการเลือกเส้นทางและการส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายที่ต่างโปรโตคอลกัน เป็นการทำงานในระดับเลเยอร์ 3 ของ OSI เราท์เตอร์ใช้เชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย LAN กับ Internet 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
อุปกรณ์สำหรับการรับส่งข้อมูลอุปกรณ์สำหรับการรับส่งข้อมูล คุณสมบัติที่สำคัญของอุปกรณ์เครือข่ายแต่ละชนิด คือข้อใด • HUB • Switch HUB • Router 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : • (4) โปรโตคอล (Protocol) • โปรโตคอลเป็น “ภาษา” ที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการสื่อสารข้อมูล คอมพิวเตอร์ที่จะติดต่อกัน จำเป็นต้องใช้โปรโตคอลเดียวกัน ไม่เช่นนั้นจะสื่อสารกันไม่ได้ • โปรโตคอลที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) ซึ่งใช้ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • โปรโตคอลอื่นๆ ที่นิยมใช้กันอีก เช่น IPX/SPX (Internet Packet Exchange/Sequenced Packet Exchange) ซึ่งเป็นโปรโตคอลที่พัฒนาโดนบริษัทโนเวลล์ สำหรับใช้กับระบบปฏิบัติการ (Netware) 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : • (5) ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS • OS ทำหน้าที่ • ประสานการทำงานระหว่างฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์กับโปรแกรมต่างๆ ในเครื่อง : หน่วยความจำ ฮาร์ดดิสก์ จอภาพ คีย์บอร์ด เมาส์ • NOS ทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับ • การสื่อสารบนเครือข่ายผ่านเครือข่าย • การใช้ทรัพยากรจากการติดต่อของคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย : ทรัพยากร เช่น เครื่องพิมพ์ ฐานข้อมูล ฮาร์ดดิสก์ • คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย จำเป็นต้องติดตั้งระบบปฏิบัติการทั้งสองประเภท เพื่อทำหน้าที่ทั้งจัดการภายในคอมพิวเตอร์และติดต่อระบบเครือข่าย 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.3 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : • ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS • NOS ประกอบด้วยระบบปฏิบัติการ 2 ส่วน คือ • NOS for Server: Netware 6.5, Windows Server 2003, Sun Solaris และ Linux • NOS for Client: OS ปัจจุบัน เช่น Windows ME/XP/2003 Professional หรือ Linux จะติดตั้งโปรแกรมบางอย่าง เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อใช้งานกับระบบเครือข่ายได้ รวมอยู่ด้วย โดยไม่ต้องติดตั้ง NOS for Client เพิ่มเติม 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
Windows XP Starter Edition * • เปิดใช้งานโปรแกรมพร้อมๆ กันได้ 3 โปรแกรม • ความสะเอียดในการแสดงผล 800x600 จุดภาพ (dpi) • ไม่สนับสนุนการทำเครือข่ายในบ้านและคุณสมบัติระดับสูงอื่นๆ เช่น การกำหนดให้มีผู้ใช้หลายๆ คนในคอมพิวเตอร์ PC เครื่องเดียว • ใช้ Internet ได้ * http://www.microsoft.com/thailand/press/aug04/starter.asp 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
คำถาม • คอมพิวเตอร์ที่นักศึกษาใช้ • ติดตั้ง OS อะไร • ติดตั้ง NOS แบบใด • โปรแกรม หรือการทำงานในส่วนใด ที่แสดงให้เห็นว่า OS ที่มีอยู่ใน PC ที่นักศึกษาใช้ เป็นส่วนการทำงานของ NOS for Client 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • แบบ BUS • แบบ RING • แบบ STAR • แบบ HYBIRD • แบบ MESH 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • Network Topology หรือโทโปโลยี จะอธิบายถึงแผนผังการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตามลักษณะทางกายภาพ (Physical Topology) หรือทางตรรกะ (Logical Topology) ซึ่งจะแสดงถึงตำแหน่งของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆ และเส้นทางการเชื่อมต่อของเครือข่ายได้ • การเลือกโทโปโลยี มีผลต่อ • ประเภทของอุปกรณ์ที่ใช้ในเครือข่าย : NIC, Cable, HUB, Switch • สมรรถนะของอุปกรณ์เหล่านั้น • ความสามารถในการขยายของเครือข่าย • การรู้จักและเข้าใจโทโปโลยีประเภทต่างๆ มีความสำคัญต่อการเข้าใจประสิทธิภาพของเครือข่ายแต่ละชนิด • การเลือกโทโปโลยีของเครือข่ายต้องมีการวางแผนที่ดี เพราะโทโปโลยีจะมีผลต่อชนิดของสายสัญญาณที่ใช้ รวมถึงลักษณะการเดินสายสัญญาณผ่านชั้น เพดาน และผนังของอาคารด้วย 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) • ใช้สายสัญญาณเส้นเดียวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวงแหวน สัญญาณจะเดินทางในทิศทางเดียว โดยสัญญาณจะวิ่งผ่านคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง หากคอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดการทำงาน ก็จะทำให้ระบบเครือข่ายล่ม • วิธีการส่งข้อมูลในโทโปโลยีแบบวงแหวน เรียกว่า การส่งต่อโทเคน (Token Passing) แต่ละเครือข่ายจะมีเพียงโทเคนเดียว ส่งต่อกันไปเรื่อยๆ คอมพิวเตอร์เครื่องใดที่ได้รับโทเคน จึงจะมีสิทธิ์ส่งข้อมูลได้ 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • โทโปโลยีแบบบัส (BUS Topology) • บางทีเรียกว่า “Linear bus” เพราะการเชื่อมต่อเป็นแบบเส้นตรง เป็นแบบที่นิยมในเครือข่ายยุคที่ผ่านมา การเชื่อมต่อจะใช้สายสัญญาณเพียงเส้นเดียว เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกๆ เครื่องเข้าด้วยกัน • คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับสายสัญญาณร่วม หรือบัส จะสื่อสารกันโดยใช้ที่อยู่ (Address) • หลักการในการส่งสัญญาณ คือ ข้อมูลจะถูกส่งไปบนสายสัญญาณไปถึงคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับสื่อกลาง หรือบัส แต่คอมพิวเตอร์ที่มีที่อยู่ตรงกับที่อยู่ของข้อมูลเท่านั้น ที่จะนำข้อมูลไปทำการประมวลผล และมีคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวเท่านั้น ที่จะส่งข้อมูลได้ในขณะช่วงเวลาใดๆ 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology) • เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเข้ากับศูนย์กลาง ซึ่งเป็นฮับ • ฮับจะทำหน้าที่กระจายข้อมูลไปยังทุกเครื่องที่เชื่อมต่อ • ข้อเสียคือ สิ้นเปลืองสายสัญญาณ และหากฮับเสีย ทั้งระบบเครือข่ายจะล่มทันที • ข้อดีคือ ถ้าสายสัญญาณบางเส้นมีปัญหา เฉพาะคอมพิวเตอร์เครื่องที่ใช้สายสัญญาณนั้น ที่ไม่สามารถส่งข้อมูลได้ แต่คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ก็จะยังคงส่งข้อมูลได้ • เป็นการเชื่อมต่อที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • โทโปโลยีแบบตาข่าย (Mesk Topology) • เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องถึงกันหมด ซึ่งถือเป็นการสำรองเส้นทางเดินของข้อมูลได้เป็นอย่างดี ถ้าสายสัญญาณเส้นใดขาด ก็ยังมีเส้นทางอื่นสามารถส่งข้อมูลได้ • นับเป็นโทโปโลยีที่มีความเชื่อถือได้สูง แต่ข้อเสียของโทโปโลยีแบบนี้ คือ การใช้สายสัญญาณมาก ซึ่งจะทำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น • ในการเชื่อมต่อจริงๆ มีการเลือกใช้เชื่อมต่อแบบตาข่ายเฉพาะบางส่วน เช่น เชื่อมต่อโหนดหลักๆ ที่สำคัญของเครือข่ายให้มีเส้นทางข้อมูลมากกว่าหนึ่งเส้นทาง 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
2.4 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • Topology คือ • Topology ที่ใช้ในระบบเครือข่ายมีกี่ลักษณะ • Topology ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน คือ • Topology ใดที่น่าจะประหยัดสายสัญญาณได้มากที่สุด • ห้องสมุด จำเป็นต้องเลือก Topology แบบ Mesk หรือไม่ เพราะเหตุใด 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert
เว็บเพื่อทำความเข้าใจระบบเครือข่ายเว็บเพื่อทำความเข้าใจระบบเครือข่าย • http://www.advice.co.th/price/normal_price/ • http://wwwgoogle.com (ค้นหาภาพ) • http://www.byxtreme.com/ComPrice.html 412 244 Data Communication and Computer Networks -- sakda chanprasert