160 likes | 306 Views
รายงานการสำรวจสภาวะแวดล้อมด้านนโยบายและปัจจัยอื่นต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ : มุมมองภาคประชาสังคม ปี 2555-2556. ภาคประชาสังคม 16 คน 12 องค์กร. งานดูแลรักษา : Access งานเยาวชน : TNAP ชายรักชาย : ฟ้าสีรุ้ง / สวท . แรงงานข้ามชาติ : AIDSNET อีสานรักษ์ไทย / World vision
E N D
รายงานการสำรวจสภาวะแวดล้อมด้านนโยบายและปัจจัยอื่นต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ : มุมมองภาคประชาสังคมปี 2555-2556
ภาคประชาสังคม16 คน 12 องค์กร • งานดูแลรักษา : Access • งานเยาวชน : TNAP • ชายรักชาย : ฟ้าสีรุ้ง/สวท. • แรงงานข้ามชาติ : AIDSNET อีสานรักษ์ไทย / World vision • พนักงานบริการ : SWING • ผู้ใช้ยา : โอโซน / PSI • เด็กกำพร้าและเด็กเปราะบางอื่นๆ : Access • กพอ. • TNAP+
เครื่องมือ NCPI : ภาคประชาสังคม ส่วนที่ 1 : การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ส่วนที่ 2 : การสนับสนุนจากฝ่ายการเมืองและภาวะผู้นำ ส่วนที่ 3 : สิทธิมนุษยชน ส่วนที่ 4 : การป้องกัน ส่วนที่ 5 : การดูแล รักษา และการช่วยเหลือ
ส่วนที่ 1 :การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม
การมีส่วนร่วมด้านนโยบาย และยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ (2555-2559) จัดทำแผนยุทธศาสตร์ / งบประมาณ / รายงานประเทศ ภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมสูง : หลายประเด็นผลักจากภาคประชาสังคม เช่น สิทธิมนุษยชน, สิทธิทางเพศ, การตีตราและเลือกปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ • กระบวนการมีส่วนร่วมสูงแต่ระยะสั้น • มียุทธศาสตร์ มีแผนการดำเนินงาน มีตัวชี้วัด แต่ไม่มีงบประมาณ • สำนักงบประมาณขาดความเข้าใจทิศทางการดำเนินงานป้องกันดูแลรักษาประเทศ • รายงานประเทศ : สังเคราะห์ข้อมูลที่ใช้พัฒนางาน, ไม่เห็นความเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรม “จากยุทธศาสตร์เอดส์ชาติจะนำไปสู่ชุมชนได้อย่างไร ภายใต้บริบทงานโครงการ”
การติดตามประเมินผลชาติการติดตามประเมินผลชาติ ภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมสูง :M&E Plan, ระบบฐานข้อมูลประเทศ นำข้อมูลไปใช้ตัดสินใจ : ด้านดูแลรักษา ได้ใช้ประโยชน์มากกว่าด้านป้องกัน ปี 2555-2556 ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ • ทำ M&E ไม่ให้เป็นเรื่องยากกับคนในชุมชน • ยังไม่เชื่อมั่นในระเบียบวิธีวิจัยคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย (งาน IPBS, BSS) น.6 • ข้อมูลภาครัฐ (กลุ่มแรงงานข้ามชาติ,ผู้ใช้ยา) ไม่ถูกให้ความสำคัญ ไม่มีตัวเลขประเทศ “ภาครัฐควรให้ความสำคัญกับข้อมูลภาคประชาสังคมด้วย” น.8 ด้านการดูแล • ปี 2556 หารือ สปสช. : • เชื่อมโยงฐานข้อมูลรพ.กับศูนย์องค์รวม • พัฒนาทีมนิเทศติดตาม QI กับสมาชิกศูนย์, • “ข้อมูลประเทศใช้ได้จริง เช่น ผลักดันให้คนเริ่มยาต้านที่ 500 หรือ Any CD4, แผนรุก VCCในชุมชน”
การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม • “มีส่วนร่วม” : ในระดับประเทศสูง ระดับพื้นที่ไม่เท่าเทียม (แรงงานข้ามชาติ,ผู้ใช้ยา) เช่น การนำเสนอข้อมูล/ความสนใจถกประเด็น PCM , ไม่ได้รับเชิญในเวทีสำคัญ ความหลากหลายของตัวแทน • ขาดองค์กรชุมชน (Local NGO) เช่น CBO , องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน สิทธิทางเพศ • แกนนำกลุ่มประชากรแรงงานข้ามชาติ • “ไม่ใช่แค่ความหลากหลาย แต่เป็นโอกาสเข้าถึงทรัพยากร พัฒนาศักยภาพคน ข้อมูล/วิชาการขององค์กรที่ไม่ได้งบกองทุนโลก” สนับสนุนงบประมาณ/วิชาการให้ภาคประชาสังคม • ด้านดูแล : คณะกรรมการเอดส์ชาติฯ มีส่วนร่วมสูงงบสปสช. • นักวิชาการหัวก้าวหน้า • ภาครัฐควรจัดสรรงบป้องกันเพิ่มขึ้น ไม่พึ่งแหล่งทุนนอก • งบจากรัฐ (สอวพ. สคร.) น้อยลงเรื่อยๆ และ “เบี้ยหัวแตก”
ส่วนที่ 2 : การสนับสนุนจากฝ่ายการเมืองและภาวะผู้นำ ปี 2555-2556 : นายกไม่เป็นประธานคณะกรรมการเอดส์ชาติ ให้รองนายกเป็น ใน 2ปีเปลี่ยนประธาน 3 คน
ส่วนที่ 3 : สิทธิมนุษยชน
ทุกข้อคำถาม “มี/ไม่มี” นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ -กฎหมายไม่เลือกปฏิบัติ -ลดการกระทำความรุนแรงต่อสตรี -การจ้างงานไม่ตรวจเชื้อเอชไอวี -ความเท่าเทียมของทุกกลุ่มในการเข้าถึงการป้องกันดูแลรักษา -แผนงานการตีตรา/เลือกปฏิบัติ • ประเด็นสำคัญ : • - มีแต่ไม่เป็นจริง • - ทั้งมีและไม่มีในกลุ่มเดียวกัน น.19 • - สำหรับคนไทย ไม่รวมไม่ใช่คนไทย • สิทธิมนุษยชน/กลไกดำเนินคดี : ไม่ใช่แค่กฎหมาย รวมถึงจิตใจสังคม เช่น ภาวะStigma ซ้อนทับ ชีวิตหลังดำเนินคดี
ข้อเสนอ/ความท้าทาย ทบทวนนโยบาย กฎหมาย ระเบียบที่เป็นอุปสรรคการดำเนินงานด้านป้องกันดูแลรักษาอย่างจริงจัง เช่น กม.เอาผิดคนเข้าเมือง, พรบ.22 ผู้ใดเสพมีความผิดอาญา, พรบ.บำบัดฟื้นฟู 2547, กม.ปรามการค้าประเวณี ฯลฯ
การกำหนดกลุ่มประชากรหลัก (KAP) โดยใช้มุมมองเชิงระบาดวิทยา □ เอชไอวีเป็นเรื่องคนทุกคน ทุกคนควรได้รับข้อมูลเท่ากัน □ ตีตรา/เลือกปฏิบัติ “เลิกกลุ่มเสี่ยงแต่ตั้งต้นที่พฤติกรรมเสี่ยง • ความต้องการจำเพาะ ที่ควรเพิ่ม □ ถุงยางอนามัยฟรี มีทุกพื้นที่ เข็มสะอาด □ งบประมาณจากภาครัฐดำเนินงานด้านป้องกัน (Health Promotion , Heath Prevention) • ความท้าทาย - Health Promotion รณรงค์สาธารณะ, สื่อที่เอื้อให้แรงงานข้ามชาติเข้าถึงบริการรพ. - ผลักดันนโยบาย พสด. อสด. ควรกำหนดอาชีพ มีที่ยืน - ถุงยางอนามัยฟรี มีทุกพื้นที่ เข็มสะอาด - ทิศทางงาน “เอชไอวีไม่ใช่เอชไอวี” รวมมิติทางเพศ สุขภาวะทางเพศ อนามัยเจริญพันธุ์ วิถีชีวิตของคน บริบททางสังคม
ส่วนที่ 5 : การดูแลรักษา
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระบบบริการภาครัฐ ทำให้เข้าถึงการรักษาน้อยลง “ยุบคลินิกกามโรค” • บัตรประกันสุขภาพแรงงานข้ามชาติ ยังไม่เป็นจริงในทางปฏิบัติ (น.29) • การดูแลด้วยยาต้านกับการรับสารทดแทนเมทาโดนในระบบบริการ แยกเป็นสองหน่วย • งานด้านเด็กกำพร้าและเด็กภาวะเปราะบาง แม้มีพรบ.คุ้มครองเด็กผลักยุทธศาสตร์จังหวัด แต่ควรทำจากล่างขึ้นบน “ปัญหาของคนในชุมชน คนในชุมชน/จังหวัดต้องเห็นความสำคัญแล้วออกแบบงาน” • เกิดกลไกระดับพื้นที่ คณะกรรมการ CAG แต่ปัญหาเด็กมีความซับซ้อน อ่อนไหว ไม่ตอบตรงไปตรงมา
ข้อเสนอ/ความท้าทาย • ประเทศควรมีชุดสิทธิประโยชน์เท่าเทียม ไม่เหลื่อมล้ำ “ระบบเดียวมาตรฐานเดียว” • นโยบาย “รักษาถูกโรค กินยาถูกฉลาก” ระบบบริการรพ.ควรเอื้อต่อแรงงานข้ามชาติ ล่าม ภาษา อ่านไม่ออก • คนทุกกลุ่มเข้าถึงบริการดูแลรักษา ไม่ละเลยใครและทำได้จริง • ผลข้างเคียงยาต้าน , เร่งทำ Recruit ต้องไม่ละเมิด • ด้านเด็ก ไม่ใช่เรื่องนโยบาย แต่เป็นทัศนะ วิธีการทำงานตั้งรับ การเห็นภารกิจและบทบาทตรงกัน