280 likes | 606 Views
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ขอต้อนรับนายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล และคณะ ผู้เยี่ยมชื่นชม. วันพฤหัสบดีที่ 26 สิงหาคม 2553. คณะผู้บริหาร. โครงสร้างองค์กร. มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์. กลุ่ม สาขาวิชา. สำนักงานคณบดี.
E N D
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ขอต้อนรับนายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล และคณะผู้เยี่ยมชื่นชม วันพฤหัสบดีที่ 26 สิงหาคม 2553
โครงสร้างองค์กร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชา สำนักงานคณบดี 1. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ 2. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมนิเวศวิทยาอุตสาหกรรม 3. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมภูมิสารสนเทศสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากร 4. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมวงปีไม้และการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ 5. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมการประเมินสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ 6. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมเทคโนโลยีการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม 7. ศูนย์วิจัยและพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ทาง วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 8. สถาบันวิจัยบึงบอระเพ็ด 1.สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม 2. สาขาวิชาสิ่งแวดล้อม 3. สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดล้อม 4. สาขาวิชาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 5. สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร 6. สาขาวิชาการวางแผนสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน 7. สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 8. สาขาวิชานิเวศวิทยาอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม 9. สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ งานบริหาร งานกายภาพและบริการพื้นฐาน งานนโยบายและแผน งานบริการการศึกษา งานคลังและพัสดุ งานวิจัยและบริการวิชาการ งานสารสนเทศ
วิสัยทัศน์ และพันธกิจของคณะ คำขวัญ (Motto) Good Environment Good Future วิสัยทัศน์ (Vision) สถาบันชั้นนำแห่งเอเชียเพื่อการสร้างสรรค์ความยั่งยืนของธรรมชาติและสังคม To be a renowned institution of Asia in cultivating sustainable nature and society พันธกิจ (Mission) พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน วิจัย บริการวิชาการและปลูกฝังจริยธรรม เพื่อสร้างสรรค์ความยั่งยืนให้กับสิ่งแวดล้อมและสังคม To develop teaching, research and academic service qualities, and to cultivate environmental ethics in order to reach sustainable environment and society
แผนยุทธศาสตร์ พ.ศ.2552-2555 ชี้นำการรักษ์สิ่งแวดล้อม เพียบพร้อมจริยธรรม เลิศล้ำบูรณาการศาสตร์สิ่งแวดล้อม เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขาน สร้างสรรค์สิ่งใหม่
ผลงานด้านการชี้นำการรักษ์สิ่งแวดล้อมผลงานด้านการชี้นำการรักษ์สิ่งแวดล้อม 1. ผลิตบุคลากรทางด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประเทศจำนวน 1,836 คน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2519 - 2552
ผลงานด้านการชี้นำการรักษ์สิ่งแวดล้อมผลงานด้านการชี้นำการรักษ์สิ่งแวดล้อม 2. ดำเนินโครงการวิจัยที่มีผลต่อนโยบายสาธารณะ
ผลงานด้านการชี้นำการรักษ์สิ่งแวดล้อมผลงานด้านการชี้นำการรักษ์สิ่งแวดล้อม 3. การจัดอบรมด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ให้กับเยาวชน ค่าย SCGเริ่มจัดที่คณะรุ่นที่ 13 ปี 2545 รับนักเรียน ม.2 ปีละ 100 คน ปัจจุบันรุ่นที่ 21 เยาวชนผ่านการอบรมจำนวน 700 คน ค่าย Power Green Camp เริ่มตั้งแต่ ปี 2549 รับนักเรียน ม.5 ปีละ 80 คน ปัจจุบันรุ่นที่ 5 เยาวชนผ่านการอบรมจำนวน 400 คน ค่าย อบจ.สมุทรสาคร เริ่มตั้งแต่ปี 2550 รับนักเรียน ม.4 – ม.5 ปีละ 80 คน ปัจจุบันรุ่นที่ 3 เยาวชนผ่านการอบรมจำนวน 240 คน
ผลงานด้านการชี้นำการรักษ์สิ่งแวดล้อมผลงานด้านการชี้นำการรักษ์สิ่งแวดล้อม 4. การเชิดชูแม่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เริ่มตั้งแต่ ปี 2547 ปัจจุบันมีแม่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น 24 คน สิ่งแวดล้อมดี...เริ่มต้นที่แม่
ผลงานด้านการชี้นำการรักษ์สิ่งแวดล้อมผลงานด้านการชี้นำการรักษ์สิ่งแวดล้อม 5. ส่งเสริมการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ร้านค้ามือสอง การแยกขยะ
ผลงานด้านความเพียบพร้อมจริยธรรมผลงานด้านความเพียบพร้อมจริยธรรม 1. สร้างภูมิคุ้มกันให้กับชีวิต อบรมนพลักษณ์ การจัดสวัสดิการต่างๆ เช่น อาหารกลางวัน การเยี่ยมไข้ อบรมเรื่องสติกับชีวิตประจำวันและคุณค่าของชีวิตต่อสังคม สิ่งแวดล้อม 2. การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ประเพณีสงกรานต์ วันสถาปนาคณะ วันครบรอบการจากไป รศ.ดร.นาท การจัดประกวดการแต่งกายถูกระเบียบของนักศึกษา การจัดงานวันเด็ก 3. สร้างความรักและสามัคคีแก่หมู่คณะ สัมมนาคณะ การร่วมปลูกต้นไม้ วันส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่
ผลงานที่เลิศล้ำบูรณาการศาสตร์สิ่งแวดล้อมผลงานที่เลิศล้ำบูรณาการศาสตร์สิ่งแวดล้อม 1. ดำเนินโครงการวิจัยตัวอย่างโครงการในปีงบประมาณ 2553 1. สภาพภูมิอากาศในอดีตของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยวงปีไม้และหินงอก (Palaeoclimate in Southeast Asia : Reconstruction by Tree Ring and Stalagmite) 2. การสำรวจและจัดทำระบบฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพแบบผสมผสาน พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช เขื่อนศรีนครินทร์ (9 โครงการย่อย) 3. ผลกระทบทางนิเวศวิทยาของกิจกรรมมนุษย์ต่อการกระจายและนิเวศวิทยาของ วัวแดง (Bos javanicus) กระทิง (Bos gaurus) และช้างป่า (Elephant maximus) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ 4. แผนยุทธศาสตร์การเสริมสร้างศักยภาพและประสิทธิภาพการดำเนินงานของ เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) เพื่อประโยชน์เชิงเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 5. แผนงานวิจัยการเสริมสร้างโอกาสและพัฒนาขีดความสามารถชุมชนฐานราก ในการจัดการมลพิษทางน้ำของลุ่มน้ำท่าจีนอย่างยั่งยืน
ผลงานที่เลิศล้ำบูรณาการศาสตร์สิ่งแวดล้อมผลงานที่เลิศล้ำบูรณาการศาสตร์สิ่งแวดล้อม 2. การจัดตั้งศูนย์วิจัยเฉพาะทาง 1. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ 2. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมนิเวศวิทยาอุตสาหกรรม 3. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมภูมิสารสนเทศสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร 4. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมวงปีไม้และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 5. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมการประเมินสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 6. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมเทคโนโลยีการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม 7. ศูนย์วิจัยและพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 8. สถาบันวิจัยบึงบอระเพ็ด
ผลงานที่เลิศล้ำบูรณาการศาสตร์สิ่งแวดล้อมผลงานที่เลิศล้ำบูรณาการศาสตร์สิ่งแวดล้อม 3. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ การฝึกภาคสนาม การศึกษาดูงาน
ผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขานผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขาน 1. การได้รับการไว้วางใจจาก TICAให้จัดฝึกอบรม หลักสูตรนานาชาติ 2. มีความร่วมมือทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศ 3. การได้รับรางวัลทั้งระดับชาติและนานาชาติ 4. การศึกษาดูงานของหน่วยงานต่างๆ
ผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขานผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขาน 1. การได้รับการไว้วางใจจาก TICAให้จัดฝึกอบรม หลักสูตรนานาชาติ Hazardous Waste Management Air Pollution Management Environmental Health with the Emphasis on Food Security Industrial Ecology and Environment Tropical Wetlands Management
ผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขานผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขาน 2. มีความร่วมมือทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศ Department of Environmental Quality Promotion (DEQP) School of Biological Sciences, UniversitiSains Malaysia University of Malaya Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM) Faculty of Biology, University of Natural Sciences (Vietnam National University) University of Liverpool Graduate School of Nutritional and Environmental Science, University ofShizuoka Thai Society of Higher Education Institutes on Environment
ผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขานผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขาน 3. การได้รับรางวัลทั้งระดับชาติและนานาชาติ ปี พ.ศ. 2551-2553 อาจารย์และเจ้าหน้าที่ รศ.ดร.ศันสนีย์ ชูแวว ได้รับรางวัล Ramsar Wetland Conservation Award and Evian Special Prize for 2008 ในสาขาการศึกษาเพื่อการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ ผศ.ดร.กิติกร จามรดุสิต ได้รับรางวัลประเภทดี ด้านวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช จากผลงานประดิษฐ์คิดค้นเรื่อง แผ่นพลาสติกใสทนแรงกระแทกสูง ผศ.ดร.จิรพล สินธุนาวา ได้รับคัดเลือกเป็นข้าราชการพลเรือนดีเด่น ผศ.ดร.เบญจภรณ์ ประภักดี ได้รับคัดเลือกเป็นข้าราชการดีเด่น อาจารย์สัญชัย สูติพันธ์วิหาร ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการจัดตั้งองค์การอิสระ (สถาบันอุดมศึกษาด้านทรัพยากรธรรมชาติ) นางมยุรีย์ สิทธิสากล ได้รับพิจารณาคัดเลือกให้เป็นแม่ดี-บุคลากรเด่น (ชมเชย)
ผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขานผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขาน ปี พ.ศ. 2551-2553 นักศึกษา นางสาวสุชาวรรณ พุทธคุณ ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนเยาวชนไทย เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ภายใต้โครงการ Eco Minds 2009 ณ ประเทศนิวซีแลนด์ นางสาวพิศณี โกพลรัตน์ ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม ในโครงการเยาวชนเด็นโซ่ ผู้พิทักษ์ รักษ์สิ่แวดล้อม (DENSO Youth for Earth Action) ณ ประเทศญี่ปุ่น
ผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขานผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขาน ปี พ.ศ. 2551-2553 นักศึกษา (ต่อ) นางสาวนิรมล กวมทรัพย์ และ นางสาวรุ่งทิพย์ จันทร์กล้า ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการสถาบันการศึกษาสภาพแวดล้อมโลกแห่งสหรัฐฯ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา นางสาวสมฤทัย สกุลมั่น และนางสาวอำพัน อยู่ศรี ได้รับชนะเลิศ First Prize-Poster Presentation ในงาน Symposium on “Networking and Technology Transfer”
ผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขานผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขาน ปี พ.ศ. 2551-2553 นักศึกษา (ต่อ) นางสาวสิริลักษณ์ ภัทรชัยสกุล และนางสาวสุวิภา รักษ์วงษ์ตระกูล ได้รับรางวัลชนะเลิศประเภท Professional Vote สาขาเคมีพอลิเมอร์และพลาสติก นายพฤกษ์ จิรสัตยาภรณ์ ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ชมเชย จากการคัดเลือกของ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขานผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขาน ปี พ.ศ. 2551-2553 ศิษย์เก่า พลโทมารุต ปัชโชตะสิงห์ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองบัญชาการกองทัพไทย ได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่นด้านกิจกรรม นางอรพินท์ วงศ์ชุมพิศ อธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่นด้านวิชาชีพ
ผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขานผลงานที่เป็นที่ยอมรับและถูกกล่าวขาน 4. การมาศึกษาดูงานของหน่วยงานต่างๆ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.ราชภัฎมหาสารคาม คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ ม.มหาสารคาม คณะอุตสาหกรรมเกษตร ม.เชียงใหม่ University Kebangsaan Malaysia คณะเทคนิคการแพทย์ ม.มหิดล สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล คณะ ICT ม.มหิดล วิทยาราชสุดา ม.มหิดล คณะกายภาพบำบัดฯ ม.มหิดล วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
ผลงานที่เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ผลงานที่เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ 1. ผลงานที่จดลิขสิทธิ์/สิทธิบัตร สิทธิบัตร การพัฒนาพลาสติกใสทนแรงกระแทกสูง (ผศ.ดร.กิติกร จามรดุสิต) อนุสิทธิบัตร แผ่นทันตกรรมจัดฟันล่องหน (ผศ.ดร.กิติกร จามรดุสิต)
ผลงานที่เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ผลงานที่เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ 2. ผลงานที่อยู่ระหว่างการพัฒนา อยู่ระหว่างการพัฒนา เครื่องมือเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณไนเตรทในน้ำแบบกึ่งอัตโนมัติ (ดร.นรินทร์ บุญตานนท์) เครื่องย่อยขยะอินทรีย์ (ดร.นรินทร์ บุญตานนท์)
ก้าวต่อไปของพวกเราชาวสิ่งแวดล้อมก้าวต่อไปของพวกเราชาวสิ่งแวดล้อม 1. การเป็นสถาบันชั้นนำที่ใช้ระบบสารสนเทศทั้งองค์กรเต็มรูปแบบ อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 3. เป็นผู้นำด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรด้านการเรียน การสอนและการวิจัย