880 likes | 1.13k Views
ห้องสมุดดิจิทัล Digital library. http://youtu.be/E9xvzvKMbys.
E N D
ห้องสมุดดิจิทัล Digital library
A digital library is an integrated set of services for capturing, cataloging, storing, searching, protecting, and retrieving information, which provide coherent organization and convenient access to typically large amounts of digital information. • ห้องสมุดดิจิทัลเป็นการรวมของบริการจัดหา จัดหมู่ จัดเก็บ ค้นหา ป้องกัน และสืบค้นสารสนเทศซึ่งสามารถเข้าถึงสารสนเทศดิจิทัลจำนวนมากได้
Digital libraries are realizations ofarchitecture in a specific hardware, networking, and software situation, which emphasize organization, acquisition, preservation, and utilization of information. • สถาปัตยกรรมของห้องสมุดดิจิทัลเป็นฮาร์ดแวร์ เครือข่าย ซอฟท์แวร์เฉพาะซึ่งเน้นการจัดการ การจัดหา การสงวนรักษา และบำรุงรักษาสารสนเทศ
User interfaces ส่วนติดต่อผู้ใช้ • 2 user interfacesin two parts: • end-users • digital librarians and system administrators who manage the collections • Web browser เป็นตัวเชื่อมต่อกับ client services ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมกับระบบและช่วยผู้ใช้ในการตัดสินใจว่าจะสืบค้นอะไร
Repository • จัดเก็บและจัดการ digital objects และสารสนเทศอื่นๆ • ห้องสมุดดิจิทัลขนาดใหญ่สามารถมีหลาย repositories และหลายประเภท
Handle system • เป็นตัวระบุ digital objects ใน repository หรือฐานข้อมูล
Search system • ระบบห้องสมุดอัตโนมัติออกแบบมาเพื่อให้สามารถมี indexes and catalogs จำนวนมากซึ่งสามารถพบได้ก่อนการสืบค้นจากrepository. • แต่ละ indexes ได้รับการจัดการแยกจากกันและสนับสนุนหลายๆ protocols
How do digital libraries work? • Collections of digital objects are stored in file systems and databases คอลเลคชั่นของวัตถุดิจิทัลถูกเก็บในฐานข้อมูล • Services are provided using several kinds of technologies บริการโดยใช้เทคโนโลยีหลายประเภท • Information Retrieval: indexing, search, classification การสืบค้นสารสนเทศ ดรรชนี การค้น การจัดหมวดหมู่ • Metadata: annotation บรรณานิทัศน์, description คำอธิบาย • User Interface ส่วนติดต่อผู้ใช้ : GUI toolkits, web-based interfaces, viewer applications, user feedback
ผู้ใช้จะหา digital objects เจอได้โดย • 1. browsing • Objects ถูกเชื่อมเข้าด้วยกันโดยใช้โครงสร้าง เช่น hyperlinks, directories • ผู้ใช้ใช้ interface เพื่อค้นจากข้อมูลทั้งหมด e.g.,
ผู้ใช้จะหา digital objects เจอได้โดย • 2. search • ผู้ใช้คิดคำค้น (query) ตามความต้องการสารสนเทศ • DL ค้นหาสารสนเทศที่ตรงกับคำค้น
การค้นทำงานอย่างไร? • การตรวจสอบทุก object ใน collection เป็นการเสียเวลา • ดังนั้น index จึงถูกสร้างขึ้นและถูกใช้ในการค้น
ดรรชนีทำงานอย่างไรกับ digital objects? • ขึ้นอยู่กับประเภทของ objects ที่กำลังถูกค้นbeing searched
ทุกๆ สิ่งจะได้รับ index หรือไม่? • ไม่เสมอไป แต่ metadata is indexed • Metadata อธิบาย data this isn’t indexed this is data this is indexed these are metadata “Zoey the dog”October 2000
ดังนั้น metadata is จำเป็นมาก! • ใช่ การพัฒนา metadata ที่มีคุณภาพสูงเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของการสร้าง DL We need high- quality metadata!
Digital Object is... getSection getArticle getTrack getLabel getChapter getPage getFrame getLength recognizable by what it can do
ลักษณะของห้องสมุดดิจิทัลลักษณะของห้องสมุดดิจิทัล • DL ไม่ได้เป็นหน่วยเดี่ยวๆ • DL ต้องการเทคโนโลยีเพื่อเชื่อมกับแหล่งบริการที่ผู้ใช้ไม่สามารถมองเห็น(end users) • เป้าหมายของห้องสมุดดิจิทัลคือ การเข้าถึง DL และบริการสารสนเทศอย่างกว้างขวาง • collections ของ DL ไม่ได้จำกัดแค่สารสนเทศดิจิทัลที่ทำขึ้นจากสิ่งตีพิมพ์แต่ยังรวมถึงสารสนเทศดิจิทัลอื่นที่ไม่ได้มาจากสิ่งพิมพ์อีกด้วย
Digital Library Interoperability การทำงานร่วมกันของห้องสมุดดิจิทัล
Cornell Digital Library NordicDigital Library Digital Library Interoperability
Digital Library Interoperability • Interoperability is based on standards: • Such as protocol, metadata • Protocols • Z39.50 - search and discovery protocol • OAI - Metadata Harvesting Protocol • Metadata • MARC - comprehensive, intend to be used by professional catalogers • Dublin Core - for describing electronic material, especially for non specialist user
Metadata (เมทาดาทา) คืออะไร? • ข้อมูลอธิบายเกี่ยวกับข้อมูล (data about data) • การสร้างเอกสารหรือข้อมูลดิจิทัล จำเป็นต้องกำหนดโครงสร้าง จึงจะสืบค้นโดยระบุข้อมูลตามต้องการ มิใช่เพียงเปิดอินเทอร์เน็ตแล้วไล่เรียงอ่านเรื่อยไป • การสร้างข้อมูลแบบมีโครงสร้าง คือ การกำหนดตัวกำกับไว้ก่อนหน้าเนื้อหา เพื่อระบุว่าเนื้อหา คือ ชื่อเรื่องหรือชื่อคน ชื่อบริษัทหรือ หน่วยงาน บทคัดย่อหรือเรื่องเต็ม ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ รูปภาพหรือเพลง • ยกตัวอย่าง บทความวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็น pdf โดยตัวเอกสารเองสืบค้นได้ไม่ดีแบบเอกสาร html หรือ text file จำเป็นต้องสร้างเมทาดาทาเป็น text สำหรับการสืบค้น และจึงเรียกดูฉบับเต็ม
Metadata (เมทาดาทา) คืออะไร? • ข้อมูลที่บอกรายละเอียดของข้อมูล • สำหรับชุมชนห้องสมุด หมายถึงการลงรายการหรือการพรรณนาทรัพยากรในรูปของบัตรรายการ หรือฐานข้อมูลบรรณานุกรม • ในสภาวะแวดล้อมที่เป็นเว็บนั้น เมทาดาทาจะหมายถึงข้อมูลที่ช่วยในการจัดระเบียบ พรรณนา แสดงลักษณะ ชี้ตำแหน่ง และค้นคืนทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ หรือที่ไม่ใช่อิเล็กทรอนิกส์ในอินเทอร์เน็ต (Thornely, 1998) • Metadata is linked to data
Dublin Core Metadata (ดับลินคอร์เมทาดาทา) • เกิดจากความจำเป็นในการสืบค้นข้อมูลในเว็บให้เข้าเรื่อง และไม่เสียเวลาอ่านข้อมูลจำนวนมากเกินไป อย่างที่คนส่วนใหญ่พบว่าเป็นปัญหา การใช้ภาษาตัวกำกับ • เช่น XML ช่วยให้แลกเปลี่ยน ส่งข้อมูลได้ดี แต่ดับลินคอร์สามารถระบุความหมายของข้อมูลด้วยคำจำกัดความมาตรฐานให้ชัดเจน และถูกต้องมากยิ่งขึ้น • จุดมุ่งหมายของดับลินคอร์เมทาดา คือ การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานอย่างง่าย ๆ เพื่อให้เจ้าของผลงานสามารถเข้าใจและระบุเมทาดาทาได้เอง • ดังนั้น ดับลินคอร์เมทาดาทาพื้นฐานจึงมีเพียง 15 หน่วยข้อมูลย่อย และไม่เคร่งครัดว่าต้องใช้มาตรฐานเฉพาะในการจัดทำรายการจำเป็น • วิธีนี้ช่วยให้หน่วยงานเล็ก ๆ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการอบรมความรู้เพิ่มเติม และไม่ต้องลงทุนซื้อคู่มือจัดทำรายการ • ประการสำคัญดับลินคอร์เมทาดาทา เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่ได้จบทางวิชาชีพหรือมีความรู้ทางบรรณารักษศาสตร์หรือสารสนเทศศาสตร์ก็สามารถที่จะลงเมทาดาทาของงานได้ด้วยตนเอง
ตัวอย่างการลงรายการเมทาดาทาหนังสือตัวอย่างการลงรายการเมทาดาทาหนังสือ
DOI • Metadata เป็นสารสนเทศที่มีโครงสร้างที่ใช้อธิบายลักษณะ และระบุตำแหน่งของสารสนเทศ ทำให้ง่ายในการค้นหา • การใช้และการจัดการสารสนเทศที่อยู่ในรูปดิจิทัล ประกอบด้วย 15 elements • Dublin Core Metadata : DOI เป็นชื่อรหัสมาตรฐานของทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจิทัล ที่กำหนดขึ้นเป็นมาตรฐานของการระบุชื่อของทรัพย์สินทางปัญญาในรูปดิจิทัลที่ให้บริการผ่านอินเทอร์เน็ต (a digital identifier for any object of intellectual property) • เป็นการระบุตำแหน่งหรือที่อยู่ของสารสนเทศที่ให้บริการผ่านอินเทอร์เน็ต
DOI • องค์ประกอบสำคัญ 2 ส่วนคือ ส่วนต้น (Prefix) และ ส่วนท้าย (Suffix) • Prefix เริ่มต้นด้วยเลข 10 ตามด้วยตัวเลข 4 หลัก • Prefix คือ 10.1000 • Suffix คือ ตัวเลขหรือตัวอักษรที่อยู่หลังเครื่องหมาย / ตัวอย่างเช่น • doi:10.1000.10/123456 • doi:10.1000/ISBN1-900512-44-0 • doi:10.2345/S1384107697000225 • doi:10.4567/0361-9230(1997)42 • doi:10.6789/JoesPaper56
DOI • รหัสDOI จึงเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหาอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถค้นหาและสืบค้นออนไลน์ได้จากการใช้รหัส DOI • เช่น การค้นหาใน search engine ใช้คำค้นว่า doi:10.1336/0313272107
บริการชื่อของ digital object (Naming Service) • ชื่อเฉพาะบ่งบอกที่อยู่ของ digital objects Documents identified by globally unique names • ชื่อจะถาวร ไม่เปลี่ยนแปลง • การลงทะเบียนช่วยในการแก้ปัญหาที่อยู่ specific location (URL) cnri.dlib/april97-payette Persistent Identifier (e.g., URN) Naming Authority Item Name Location (URL) http://www.somewebserver.org/somedirectory/somefile
ตัวบ่งชี้Identifiers: Current Initiatives • IETF Uniform Resource Names (URN) • specification of URN framework • requirements for resolution systems • syntax definition • Existing Systems • CNRI’s Handle System (**NCSTRL uses) • OCLC PURLs • DOI Initiative
Z39.50 protocol • มาตรฐานสำหรับการสืบค้นระหว่าง เค่รือง client และ database server
The Open Archives Initiative (OAI) สนับสนุนการโต้ตอบระหว่างdata providerและservice provider Data Provider:ผู้ที่บำรุงรักษา repositories (web servers) ที่ใช้ OAI เป็นเครื่องมือในการทำ metadata. Service Provider:เกี่ยวกับการติดต่อระหว่าง OAI กับ data providers และใช้ metadata เป็นพื้นฐานในการเพิ่มมูลค่าให้กับการบริการ Service Provider เป็นการรวบรวม metadata ที่เกิดจาก Data Providers
MARC • MARC records are stored as a collection of tag fields in fairly complex
DL architecture สถาปัตยกรรมห้องสมุดดิจิทัล
ความสามารถของห้องสมุดดิจิทัลCapability of Digital library • การจัดหาและผลิตสารสนเทศดิจิทัล (capture or creation of content) • การจัดทำดรรชนีและการจัดหมู่ (indexing and cataloging) (metadata) • การจัดเก็บ (storage) • วิธีการค้น และคำค้น (search and query) • การจัดการลิขสิทธิ์ (asset and property rights protection) • การสืบค้นและการบริการสารสนเทศดิจิทัล (retrieval and distribution)
ความสำคัญของโครงสร้างของห้องสมุดดิจิทัล (DL architecture) • เพื่อให้ห้องสมุดดิจิทัลมีความสามารถในทำงานได้ดังกล่าว • ต้องมีการออกแบบโครงสร้างของห้องสมุดดิจิทัล (DL architecture) • เพื่อดูว่าองค์ประกอบทางเทคโนโลยีสามารถทำงานร่วมกันได้เป็นอย่างดี • ทำงานด้านต่างๆ ทำงานได้มีประสิทธิภาพ • โครงสร้างของห้องสมุดดิจิทัลประกอบด้วยหลายระดับเพื่อให้สามารถห้องสมุดดิจิทัลมีความสามารถดังกล่าว
โครงสร้างทางความคิดNotional Architecture • Data และ metadata แยกออกจากกันอย่างชัดเจน • Metadata ช่วยการจัดหมวดหมู่และจัดการความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ไม่ได้รับการจัดการ ซับซ้อน และมีขนาดใหญ่
โครงสร้างการปฏิบัติงาน Operational Architecture • ระบบจัดการสารสนเทศ (information management system)
โครงสร้างทางเทคนิคTechnical Architecture • องค์ประกอบของระบบต่างๆ • Metadata และ data ต้องมีความสัมพันธ์กันอย่างมีเหตุผล • เทคโนโลยีที่นำมาใช้ต้องมีความสามารถเชื่อมต่อได้โดยไม่ต้องคำนึงถึงเวลา, platforms, ภูมิศาสตร์, เครือข่าย, และระบบการบริการสารสนเทศดิจิทัล
โครงสร้างทางระบบ System Architecture • ระบบของ H/W และ S/W • scalability and extensibility
ตัวอย่างโครงสร้างของห้องสมุดดิจิทัลตัวอย่างโครงสร้างของห้องสมุดดิจิทัล
Digital format System Architecture