520 likes | 821 Views
การประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม. สาธิน คุณะวเสน (sathin@biotec.or.th) โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ไบโอเทค. 27 กันยายน 2550 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ.สงขลา การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “ โครงการนักสื่อสารเทคโนโลยีชีวภาพ”. กรอบการนำเสนอ.
E N D
การประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมการประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม สาธิน คุณะวเสน (sathin@biotec.or.th) โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ไบโอเทค 27 กันยายน 2550 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ.สงขลา การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการนักสื่อสารเทคโนโลยีชีวภาพ”
กรอบการนำเสนอ • การวิเคราะห์ความเสี่ยงของอาหารที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ Principles for the Risk Analysis of Foods Derived from Modern Biotechnology • การประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ได้สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม
อาหารที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่อาหารที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม พืชดัดแปลงพันธุกรรม จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม
เอนไซม์ rennet เอนไซม์ rennet ผลิตจากเชื้อราดัดแปลงพันธุกรรม
ข้าว Vitamin A Enrichment Iron Enrichment Golden Rice Golden Rice
ปลานิล ปลาแซลมอน
ความกังวล จีเอ็มโอ
ความกังวลต่อจีเอ็มโอ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านอาหารและการนำมาบริโภค
ความกังวลด้านอาหารและการนำมาบริโภคความกังวลด้านอาหารและการนำมาบริโภค
ความกังวลเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มาจากจีเอ็มโอความกังวลเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มาจากจีเอ็มโอ • สารพิษที่เกิดขึ้นใหม่หรือที่มีอยู่แล้วมีปริมาณมากขึ้น • ปริมาณสารอาหารและสารโภชนาการเปลี่ยนแปลง • การก่อภูมิแพ้ • การเคลื่อนย้ายของยีน
BITC Cyanide สารพิษที่เกิดขึ้นใหม่หรือที่มีอยู่แล้วมีปริมาณมากขึ้น
ข้าววิตามินเอสูง ถั่วเหลืองกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง ปริมาณสารอาหารและสารโภชนาการเปลี่ยนแปลง
การก่อให้เกิดภูมิแพ้ การก่อให้เกิดภูมิแพ้
การเคลื่อนย้ายของยีนและการเกิดโรคใหม่ การเคลื่อนย้ายของยีนและการเกิดโรคใหม่
Codex Ad Hoc Intergovernmental Task Force on Foods Derived From Biotechnology Principles for the Risk Analysis of Foods Derived from Modern Biotechnology (2003)
หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยงของอาหารที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยงของอาหารที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ • แนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินความปลอดภัยของ อาหารที่ได้จากพืชดัดแปลงพันุกรรม • แนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินความปลอดภัยของ อาหารที่ได้จากจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม
หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยงหลักการวิเคราะห์ความเสี่ยง • เมื่อนำมาใช้กับอาหารที่ได้จากการใช้ • เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ต้องปรับเปลี่ยนเป็น • การวิเคราะห์ความเสี่ยงของอาหารทั้งหมด • (whole foods) (ในปัจจุบันยังไม่มีหลักเกณฑ์ในการประเมินความปลอดภัยที่เป็นแบบแผนสำหรับอาหารทั้งหมดดังกล่าว)
ดูที่สายพันธุ์นั้น ๆ เป็นกรณี ๆ ไป การประเมินความเสี่ยง Risk Assessment Risk Analysis การบริหารจัดการ การสื่อสารความเสี่ยง Risk Communication Risk Management ต้องถูกต้อง เปิดเผยและโปร่งใส ดูทั้งระบบ
การประเมินความปลอดภัยของการประเมินความปลอดภัยของ อาหารที่ได้จาก สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความปลอดภัยและคุณค่าทางโภชนาการของพืชอาหารที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรมสำหรับการบริโภคของมนุษย์ โดยไม่ครอบคลุมถึงการประเมินความปลอดภัยสำหรับการบริโภคโดยสัตว์ หรือผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินความปลอดภัยฯข้อมูลที่ใช้ในการประเมินความปลอดภัยฯ • ได้จากการวางแผนและดำเนินการทดลองในเชิงวิทยาศาสตร์ อย่างเป็นระบบ มีแบบแผน และหลักเกณฑ์ที่เชื่อถือ เป็นที่ยอมรับได้ เช่น มี Good Laboratory Practices • วิธีการทางสถิติที่เหมาะสม
หลักการประเมินความปลอดภัยหลักการประเมินความปลอดภัย พืชดัดแปลงพันธุกรรม • การประเมินความเทียบเท่า • สารอาหาร • สารโภชนาการ • สารต้านโภชนาการ • สารพิษ • สารภูมิแพ้ • สร้างโปรตีนใหม่ • สารพิษ • สารภูมิแพ้ • ปริมาณของโปรตีนที่เกิดขึ้นในส่วน • ของพืชที่ใช้เป็นอาหาร
การประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมการประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม วิธีการที่เหมาะสมที่สุดในปัจจุบันคือ การพิจารณา“ ความเทียบเท่าโดยสาระสำคัญ ” ( substantial equivalent ) ของ อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม กับ อาหารที่มีอยู่ตามธรรมชาติ (OECD 1993)
ความเทียบเท่าโดยสาระสำคัญความเทียบเท่าโดยสาระสำคัญ มีความเทียบเท่าทุกประการ ทั้งทางด้านคุณค่าโภชนาการและความปลอดภัยต่อการบริโภค ตัวอย่างน้ำมันพืชที่มีความบริสุทธิ์สูง
ความเทียบเท่าโดยสาระสำคัญ (ต่อ) มีความเทียบเท่า ยกเว้น มีความแตกต่าง อย่างเฉพาะเจาะจง - ให้พิจารณาประเมินความปลอดภัยเพิ่มเติม - โดยเน้นเฉพาะตรงส่วนที่แตกต่าง ตัวอย่างอาหารที่ได้จากจีเอ็มโอส่วนใหญ่ จัดอยู่ในประเภทนี้
ความเทียบเท่าโดยสาระสำคัญ (ต่อ) ไม่มีความเทียบเท่า หรือ ไม่สามารถหาคู่เปรียบเทียบที่มีอยู่ตามธรรมชาติได้ - ต้องพิจารณาประเมินความปลอดภัยถึงองค์ประกอบ ของอาหารนั้นเป็นชนิดๆ ไปแล้วแต่กรณีอย่างครบถ้วน และรัดกุม ตัวอย่างปัจจุบันยังไม่มีอาหารชนิดใด จัดอยู่ในประเภทนี้
ข้อมูลสำหรับการพิจารณาความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากพืชดัดแปลงพันธุกรรม (1) สารพันธุกรรม ชนิดและแหล่งที่มาของสิ่งมีชีวิตเจ้าบ้านและผู้ให้
Host plant • ข้อมูล Genotype และ Phenotype • ประวัติความเป็นพิษ และการก่อภูมิแพ้ Donor organism • ประวัติความเป็นพิษ และการก่อภูมิแพ้ • หากเป็นจุลินทรีย์ ต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับการก่อโรค • หรือความสัมพันธ์กับสายพันธุ์ที่ก่อโรค ข้อมูลสำหรับการพิจารณาความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากพืชดัดแปลงพันธุกรรม (2)
ข้อมูลสำหรับการพิจารณาความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากพืชดัดแปลงพันธุกรรม (3) • ประวัติการบริโภค • รูปแบบการบริโภคและกลุ่มผู้บริโภค
ข้อมูลสำหรับการพิจารณาความปลอดภัยของอาหารที่ได้จากพืชดัดแปลงพันธุกรรม (4) ส่วนประกอบและสารอาหาร การเปลี่ยนแปลงของปริมาณสารอาหาร สารพิษและ สารต้านโภชนาการ
ข้อมูลการดัดแปลงพันธุกรรมข้อมูลการดัดแปลงพันธุกรรม วิธีการดัดแปลงพันธุกรรมและผลที่เกิดขึ้น รายละเอียดของ DNA ที่ต้องการใส่เข้าไป วิธีการ • Agrobacterium-mediated • Microparticle bombardment
ข้อมูลการดัดแปลงพันธุกรรมข้อมูลการดัดแปลงพันธุกรรม ลักษณะหลังการดัดแปลงพันธุกรรม • Southern blots • PCR • Gene sequencing ความคงตัวของสารพันธุกรรม • Southern blots (genotypic analysis) • Segregation analysis (phenotypic analysis)
องค์ประกอบทางเคมี และสารอาหาร
องค์ประกอบสำคัญในอาหารองค์ประกอบสำคัญในอาหาร • ส่วนประกอบพื้นฐานของสารอาหารหลัก • วิตามิน • แร่ธาตุ • สารพฤกษเคมี (Phytonutrients) • สารพิษที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ เช่น gossypol ในฝ้าย • สารต้านโภชนาการที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
หากมีโปรตีนใหม่ถูกสร้างขึ้นหากมีโปรตีนใหม่ถูกสร้างขึ้น • ตรวจสอบว่ามีสมบัติเหมือนโปรตีนทั่วไปในอาหาร • การสลายตัวหรือการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย • ความเป็นพิษ • การเกิดภูมิแพ้
Detection of Novel Protein in GTS 40-3-2 A and B : +/- C – soybean seed GTS 40-3-2 D – toasted meal GTS 40-3-2
Protein % Total Protein Stability • Common Plant Proteins • Rubisco LSU (spinach leaf) 25 <15 sec • Rubisco SSU (spinach leaf) 25 <15 sec • Lipoxygenase (soybean seed) < 1 <15 sec • Glcolate reductase (spinach leaf) < 1 <15 sec • PEP carboxylase (corn kernel) < 1 <15 sec • Acid phosphatase (potato tube) < 1 <15 sec • Sucrose Synthetase (wheat kernel) < 1 <15 sec • fl-amylase (barley kernel) < 1 <15 sec • Introduced Protein • B.t.t < .01 < 30 sec • B.t.k. HD-73 < .01 30 sec • B.t.k. HD-1 < .01 30 sec • CP4 EPSPS < .1 < 15 sec • GOX < .01 < 15 sec • ACCd < .4 < 15 sec • GUS .01 < 15 sec • NPTII < .01 < 10 sec Stability of Common Plant Proteins and Introduced Proteins * Astwood et al. 1996. Nature Biotech. 14:1269
แนวทางการตรวจสอบการก่อให้เกิดภูมิแพ้จากโปรตีนแนวทางการตรวจสอบการก่อให้เกิดภูมิแพ้จากโปรตีน 1. ปริมาณโปรตีนที่ปรากฏในอาหาร 2. ความคงตัวเมื่อผ่านกระบวนการแปรรูปอาหาร 3. ความคงตัวต่อการย่อยอาหารในกระเพาะอาหารและลำไส้ 4. ความคล้ายคลึงกับโปรตีนที่เป็นสารก่อภูมิแพ้ (อย่างน้อย 8 กรดอะมิโนต่อเนื่อง)
Peanut Ara h 2 Peanut Lectin Egg white Gal d 2 sec. min. L G P 0 15 30 1 2 4 8 15 60 sec. min. L G P 0 15 30 1 2 4 8 15 60 sec. min. L G 0 15 30 1 2 4 8 15 60 97 43 31 20 14 6 (kDa) pepsin 97 43 31 20 14 6 (kDa) pepsin Soy Gly m BD30K Soy Lectin Mustard Bra j IE Allergen Stability
Stability of Food Allergens* Protein % Total Protein Stability (min) Fragments (min) Egg and Milk Allergens Egg Ovalbumin (Gal d 2) 54 60 - Milk fl-lactoglobulin 9 60 - Egg Ovomucoid (Gal d 1) 11 8 - Milk Casein 80 2 15 Milk BSA 1 0.5 15 Milk a-lactalbumin 4 0.5 2 Egg Conalbumin (Gal d 3) 12 0 15 Seed Allergens Soy fl-Conglycinin (b ) 18.5 60 - Soy Kunitz trypsin Inhibitor 2 - 4 60 - Peanut Ara h 2 6 60 - Mustard Sin a I 20 60 - Mustard Bra j IE 20 60 - Soy Lectin 1- 2 15 - Peanut Lectin 1.3 8 - Soy fl-Conglycinin (a) 18.5 2 60 Soy Glycinin 51 0.5 15 Soy Gly m BD 30K 2 - 3 0 8 * Astwood et al. 1996. Nature Biotech. 14:1269
แนวทางการตรวจสอบความเป็นพิษแนวทางการตรวจสอบความเป็นพิษ 1. ความเป็นไปได้ที่จะมีสารพิษเกิดขึ้น 2. ความคงตัวเมื่อผ่านกระบวนการแปรรูปอาหาร 3. ความคล้ายคลึงกับสารที่จัดเป็นสารพิษ 4. ความคงตัวเมื่อผ่านการย่อยอาหาร 5. Acute oral toxicity test (LD 50)
1 2 5 4 3 ขั้นตอนการขออนุมัติอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ผู้ขอรับการประเมินฯ คณะทำงานประเมินความปลอดภัยฯ