80 likes | 239 Views
หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2. รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น. ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์. การแบ่งยุคการศึกษาวิชาภาษาศาสตร์ ตามความเห็นของ ศาสตราจาร ย์ Charles C. Fries. (1962). Linguistics and Reading, pp. 35 – 92. 1. ยุคที่ ๑ ระหว่าง ค.ศ. 1820 – 1875 ( พ.ศ. 2363-2418)
E N D
หัวข้อการบรรยาย ENL 3701Week #2 รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น
ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ • การแบ่งยุคการศึกษาวิชาภาษาศาสตร์ ตามความเห็นของ ศาสตราจารย์ Charles C. Fries. (1962). Linguistics and Reading, pp. 35 – 92. • 1. ยุคที่ ๑ ระหว่าง ค.ศ. 1820 – 1875 (พ.ศ. 2363-2418) • 2. ยุคที่ ๒ ระหว่าง ค.ศ. 1875 – 1925 (พ.ศ. 2418 –2468) • 3. ยุคที่ ๓ ระหว่าง ค.ศ. 1925 – 1950 (พ.ศ. 2468 –2493) • 4. ยุคที ๔ ระหว่าง ค.ศ. 1950 – 1960 (พ.ศ.2493 - 2506) จนถึงปัจจุบัน (ค.ศ.2013 , พ.ศ.2556)
๑.ยุคเริ่มต้นของการศึกษาภาษาตามแนวใหม่๑.ยุคเริ่มต้นของการศึกษาภาษาตามแนวใหม่ • ข้อสรุปของการศึกษาในยุคแรก เน้นการเปลี่ยนแปลงของภาษา • ภาษาไม่มีลักษณะหยุดนิ่งหรือตายตัว • ภาษามีการเปลี่ยนแปลงที่แน่นอนและเป็นระบบ • การเปลี่ยนแปลงมาจากการใช้ภาษาของเจ้าของภาษาที่เป็นผู้พูดและผู้เขียน • ประเด็นที่ต้องพิจารณา...อะไรคือจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงการศึกษาภาษา และมีหลักฐานอ้างอิงอย่างไรบ้าง
๒.ยุคที่สองของการศึกษาภาษา๒.ยุคที่สองของการศึกษาภาษา • ข้อสรุปของการพัฒนาการศึกษาภาษายุคที่สองเน้นด้านเสียงของภาษา ประเด็นที่ต้องพิจารณา • ๑. ทำไมนักภาษาศาสตร์จึงต้องศึกษาด้านเสียงของภาษา • ๒. มีเครื่องมืออะไรที่ใช้ในควบคุมการศึกษาด้านเสียงของภาษา • ๓. เพราะเหตุใดภาษาต่างๆของมนุษย์จึงมีเสียงแตกต่างกัน และใครเป็นผู้กำหนดความถูกต้องและมาตรฐานของเสียงในแต่ละภาษา
๓.ยุคที่สามของการศึกษาภาษา๓.ยุคที่สามของการศึกษาภาษา • ข้อสรุปการศึกษาภาษาในยุคที่สามเน้นด้านโครงสร้างของภาษา ประเด็นที่ต้องพิจารณา • ๑. เพราะเหตุใดนักภาษาศาสตร์จึงสนใจศึกษาด้านโครงสร้างของภาษา • ๒. นักภาษาศาสตร์ได้ข้อมูลการศึกษาจากแหล่งใด • ๓. การศึกษาด้านโครงสร้างเปิดเผยข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง และใครเป็นผู้นำในการศึกษาภาษาในยุคนี้
๔.ยุคที่สี่เป็นยุคใหม่ของการศึกษาภาษา๔.ยุคที่สี่เป็นยุคใหม่ของการศึกษาภาษา • ข้อสรุปของการศึกษาภาษาในยุคนี้เน้นด้านการนำเอาหลักภาษาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ ประเด็นที่ควรพิจารณา • ๑. การศึกษาภาษาได้มีการเปลี่ยนแปลงจากยุคที่ผ่านมาอย่างไรบ้าง • ๒. ใครเป็นผู้บุกเบิกการนำทฤษฎีด้านภาษาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ • ๓. ความรู้ด้านภาษาศาสตร์ได้ขยายตัวออกไปสู่ศาสตร์อื่นๆอย่างไรบ้าง • ๔. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีภาษาศาสตร์ทำให้เกิดผลดีด้านการศึกษาภาษาหรือไม่ และเป็นอย่างไร
๒. ขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์ • ภาษาศาสตร์มีขอบข่ายต่างกัน ๓ คู่ลักษณะ คือ • ๑.ภาษาศาสตร์แบบปัจจุบัน กับ ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ (Syncronic & Diacronic) • ๒. ภาษาศาสตร์ทฤษฎีและภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Theoretical & Applied Linguistics) • ๓. ภาษาศาสตร์อนุภาคและภาษาศาสตร์มหภาค (Micro & Macro Linguistics)
ประเด็นที่ต้องพิจารณาเกี่ยวกับการศึกษาภาษาประเด็นที่ต้องพิจารณาเกี่ยวกับการศึกษาภาษา • ๑. พัฒนาการของการศึกษาวิชาภาษาศาสตร์ทำให้เราได้เรียนรู้อะไรบ้าง • ๒. นักภาษาศาสตร์ทางยุโรปและอเมริกา ได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ด้านการศึกษาภาษาในด้านใดบ้าง • ๓. ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีกับภาษาศาสตร์ประยุกต์มีข้อแตกต่างหรือเหมือนกันหรือไม่และอย่างไร • ๔. ปัจจุบันวิชาภาษาศาสตร์ได้มีบทบาทในการดำเนินชีวิตของคนในยุคใหม่ในด้านใดบ้าง