1 / 73

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ( Research and Development หรือ R & D )

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ( Research and Development หรือ R & D ). ดร.วรยุทธ์ ทิพย์เที่ยงแท้. R1. D1. R2. D2. วิเคราะห์ความต้องการจำเป็น นักเรียน ครู การเรียนการสอน อื่น ๆ ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ศึกษาค้นคว้าเอกสาร สังเกต สอบถาม สัมภาษณ์ ออกแบบ กำหนดวัตถุประสงค์ ศึกษาหลักการทฤษฎี

Download Presentation

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ( Research and Development หรือ R & D )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม(Research and Development หรือ R & D) ดร.วรยุทธ์ ทิพย์เที่ยงแท้

  2. R1 D1 R2 D2 • วิเคราะห์ความต้องการจำเป็น • นักเรียน • ครู • การเรียนการสอน • อื่น ๆ • ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน • ศึกษาค้นคว้าเอกสาร • สังเกต • สอบถาม • สัมภาษณ์ • ออกแบบ • กำหนดวัตถุประสงค์ • ศึกษาหลักการทฤษฎี • ตัดสินใจเลือกนวัตกรรม • กำหนดลักษณะ/โครงสร้างองค์ประกอบนวัตกรรม • พัฒนานวัตกรรม • วางแผนการพัฒนา • สร้างนวัตกรรมต้นแบบ/สื่อ • ตรวจสอบนวัตกรรมโดยผู้เชี่ยวชาญ • ทดลองใช้ 1ต่อ 1/ปรับปรุง • ทดลองใช้กลุ่มเล็กไม่เกิน 10คน /ปรับปรุง • ทดลองใช้กลุ่มใหญ่ไม่ต่ำกว่า 30 คน • นำไปใช้จริง • กลุ่มตัวอย่าง • เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล • แบบแผนการทดลอง • วิธีดำเนินการ • วิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ • ผลการพัฒนาเป็นอย่างไร • ประเมินผล • *ปัญหาในสถานการณ์จริง • การแก้ปัญหา • จัดสัมมนา • สนทนากลุ่ม • จิตปัญญาศึกษา • *การเผยแพร่นวัตกรรม • เอกสาร • เว็บไซต์ กรอบแนวคิดในการวิจัย

  3. การวิจัยและพัฒนามีหลายรูปแบบการวิจัยและพัฒนามีหลายรูปแบบ • Generic Model • Applied Model • Basic Model ฯลฯ

  4. Generic Model (ADDIE) • Analysis (วิเคราะห์ความต้องการจำเป็น ในการพัฒนา) • Design (ออกแบบ) • Development (พัฒนา) • Implementation (นำไปใช้) • Evaluation (ประเมินผล) (Donald Clark. 2003 : 12)

  5. Analyze Implement Evaluate Design Develop (Donald Clark. 2003 : 12)

  6. ขั้นวิเคราะห์

  7. วิเคราะห์อะไร ? • นักเรียน • ครู • การเรียนการสอน • อื่นๆ

  8. วิเคราะห์อย่างไร ? • ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน • ประเมินความต้องการจำเป็น (Needs Assessment) N = สิ่งที่คาดหวัง-สิ่งที่เป็นจริง

  9. การศึกษาข้อมูลพื้นฐานการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน • ศึกษาค้นคว้าเอกสาร • สังเกต • สอบถาม • สัมภาษณ์

  10. การประเมินความต้องการจำเป็นการประเมินความต้องการจำเป็น 1. กำหนดสิ่งที่คาดหวัง โดย -วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา -วิเคราะห์โครงสร้างรายวิชา -วิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้ -กำหนดสิ่งที่คาดหวัง

  11. ตัวอย่างการกำหนดสิ่งที่คาดหวังตัวอย่างการกำหนดสิ่งที่คาดหวัง • นักเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 คิดแก้ปัญหาเป็น • นักเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน • นักเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 รับผิดชอบเข้าชั้นเรียนและส่งงานตรงเวลา

  12. 2. ตรวจสอบสภาพที่เป็นจริง • สังเกต • สอบถาม • สัมภาษณ์ • ทดสอบ • ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน

  13. ตัวอย่างผลการตรวจสอบสภาพที่เป็นจริงตัวอย่างผลการตรวจสอบสภาพที่เป็นจริง • นักเรียนร้อยละ 80 คิดแก้ปัญหาเป็น • นักเรียนร้อยละ 20 มีทักษะการพูดภาษอังกฤษ • นักเรียนร้อยละ 30 มีความรับผิดชอบเข้าชั้นเรียนและส่งงานตรงเวลา

  14. 3.เปรียบเทียบสิ่งที่เป็นจริงกับสิ่งที่ คาดหวัง • ความเป็นจริงต่ำกว่าสิ่งที่คาดหวัง แสดงว่ามีปัญหา • ความเป็นจริงเท่ากับหรือสูงกว่าสิ่งที่คาดหวัง แสดงว่าไม่มีปัญหา

  15. 4. ระบุปัญหาที่ต้องการแก้ไข • นักเรียนส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ไม่มีทักษะการพูดภาษอังกฤษในการสื่อสาร • นักศึกษาส่วนใหญ่ร้อยละ 70 ไม่มีความรับผิดชอบในการเข้าชั้นเรียนและส่งงาน

  16. 5. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา • ความรู้ประสบการณ์ของผู้สอน(ผู้วิจัย) • ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ • ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

  17. จบขั้นวิเคราะห์ได้อะไร?จบขั้นวิเคราะห์ได้อะไร? • ทราบปัญหาที่แท้จริงที่ต้องแก้ไข • ทราบเป้าประสงค์ที่ต้องการบรรลุถึง • ทราบสาเหตุของปัญหา • ได้ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการออกแบบ

  18. ขั้นออกแบบ

  19. ขั้นตอนการออกแบบ • กำหนดวัตถุประสงค์ของการใช้นวัตกรรม • ศึกษาทฤษฏีหลักการแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม • ตัดสินใจเลือกนวัตกรรมที่จะใช้แก้ปัญหา • กำหนดลักษณะ/โครงสร้าง/องค์ประกอบของนวัตกรรม

  20. 1 .กำหนดวัตถุประสงค์ของการใช้นวัตกรรม เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ ของการแก้ปัญหา ของการใช้นวัตกรรม

  21. 2.ศึกษาทฤษฏีหลักการแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม2.ศึกษาทฤษฏีหลักการแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม • ประเภท • ลักษณะเฉพาะ • ข้อบ่งใช้ • ฯลฯ

  22. 3 .ตัดสินใจเลือกนวัตกรรมที่จะใช้แก้ปัญหา ปัญหา เป้าประสงค์ สาเหตุของปัญหา นวัตกรรม แนวคิดหลักการทฤษฏี แนวทางแก้ปัญหา

  23. 3.กำหนดลักษณะ/โครงสร้างของนวัตกรรม3.กำหนดลักษณะ/โครงสร้างของนวัตกรรม • ชื่อนวัตกรรม • ลักษณะ • โครงสร้าง/องค์ประกอบ

  24. จบขั้นออกแบบแล้วได้อะไร?จบขั้นออกแบบแล้วได้อะไร? • แบบจำลองของนวัตกรรมที่จะพัฒนา • สื่อ/อุปกรณ์ประกอบการใช้นวัตกรรม (ถ้ามี)

  25. ขั้นพัฒนา

  26. ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรมขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม • วางแผนพัฒนานวัตกรรม • สร้างนวัตกรรมต้นแบบ / สื่อ • ตรวจสอบคุณภาพนวัตกรรมเบื้องต้น • ทดลองใช้ 1 ต่อ 1 / ปรับปรุง • ทดลองใช้กลุ่มเล็ก(ไม่เกิน 10 คน) / ปรับปรุง • ทดลองใช้กลุ่มใหญ่ (ไม่ต่ำกว่า 30 คน)

  27. 1. วางแผนพัฒนานวัตกรรม 1.1 กำหนดขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม • ขึ้นอยู่กับประเภทของนวัตกรรม • ขึ้นอยู่กับแนวคิดหลักการทฤษฏี • ขึ้นอยู่กับการประยุกต์ของผู้วิจัย

  28. 1.2 กำหนดเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพ • นิยามให้ชัดว่า ประสิทธิภาพ หมายถึงอะไร • ประสิทธิภาพต้องสอดคล้องปัญหาที่ต้องการแก้ไข • นวัตกรรมมีประสิทธิภาพแสดงว่าสามารถใช้แก้ปัญหาได้

  29. ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพตัวอย่างเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพ • ร้อยละ • คะแนนก่อนหลัง • ประสิทธิภาพE1/E2 • ดัชนีประสิทธิผล • สถิติ t-test

  30. 2. สร้างนวัตกรรมต้นแบบ • สร้างให้มีลักษณะโครงสร้างองค์ประกอบครบถ้วนตามแบบ • สร้างตามขั้นตอนที่วางแผนไว้

  31. 3.ตรวจสอบคุณภาพนวัตกรรมเบื้องต้น(โดยผู้วิจัยและผู้เชี่ยวชาญ)3.ตรวจสอบคุณภาพนวัตกรรมเบื้องต้น(โดยผู้วิจัยและผู้เชี่ยวชาญ) • ความเที่ยงตรงเชิงพินิจ(Facevalidity) • ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) • ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct validity)

  32. ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) สำหรับวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ IOC = R N เมื่อIOC แทน ดัชนีความสอดคล้อง R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็น N แทน จำนวนผู้เชี่ยวชาญ

  33. แบบประเมินสำหรับผู้เชี่ยวชาญแบบประเมินสำหรับผู้เชี่ยวชาญ • การคำนวณค่า IOCควรสร้างแบบประเมินให้ผู้เชี่ยวชาญประเมิน • ผู้เชี่ยวชาญตอบว่าเห็นด้วยให้ +1 คะแนน ตอบว่าไม่แน่ใจให้ 0 คะแนน ตอบว่า ไม่เห็นด้วยให้ -1 คะแนน จากนั้นคำคะแนนไปคำนวณหาค่า IC ตามสูตร

  34. องค์ประกอบผลการประเมินความสอดคล้อง ข้อเสนอแนะ ของแบบฝึกเหมาะสม ไม่แน่ใจ ไม่เหมาะสม หลักการ //// // / วัตถุประสงค์ ///// / / เนื้อหาสาระ………..……………………………………………………………………………………….. ฯลฯ

  35. ค่า IOCของหลักการ = ............. • ค่า IOCของวัตถุประสงค์ = ............

  36. 4. ทดลองใช้ 1 ต่อ 1 • กลุ่มตัวอย่าง 1 คน • นำนวัตกรรมไปใช้ • สังเกต สอบถาม บันทึกข้อมูล ในเรื่องความเหมาะสมของภาษา ความเหมาะสมขององค์ประกอบนวัตกรรม • ปรับปรุงแก้ไข

  37. 5. ทดลองใช้กลุ่มเล็ก • กลุ่มตัวอย่าง 5-10 คน • นำนวัตกรรมไปใช้ • สังเกต สอบถาม บันทึกข้อมูล ความเหมาะสมของเวลา ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม • ปรับปรุงแก้ไข

  38. 6. ทดลองใช้กลุ่มใหญ่ • กลุ่มตัวอย่างประมาณ 30 คน • นำนวัตกรรมไปใช้ • ใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลที่มีคุณภาพ เน้นวิธีเชิงปริมาณ เช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม ในด้านประสิทธิภาพของการใช้นวัตกรรม • วิเคราะห์ข้อมูล • สรุปผลประสิทธิภาพ

  39. รายละเอียดของการทดลองกลุ่มใหญ่รายละเอียดของการทดลองกลุ่มใหญ่ • กลุ่มตัวอย่าง • เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล • ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ • วิธีหาคุณภาพ • แบบแผนการทดลอง • วิธีดำเนินการทดลอง • การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้

  40. กลุ่มตัวอย่าง ประชากร (Population) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)

  41. Sampling • Simple Random Sampling • Cluster Random Sampling • Purposive Sampling

  42. Random Assignment population Or sample Group 1 Group 2

  43. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล • เครื่องมือต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัยและตัวแปร • เครื่องมือต้องผ่านการหาคุณภาพ

  44. แบบทดสอบ K&P(ความรู้&ทักษะแบบทดสอบ K&P(ความรู้&ทักษะ • แบบสอบถาม • แบบสัมภาษณ์ A (คุณธรรม จริยธรรม) • แบบมาตรประมาณค่า • แบบตรวจสอบรายการ ความสามารถ • แบบสังเกต • Rubrics

  45. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือทั่วไปขั้นตอนการสร้างเครื่องมือทั่วไป • วิเคราะห์หลักสูตร • ศึกษาทฤษฎีหลักการสร้างเครื่องมือประเภทนั้น • เขียนข้อคำถาม • ตรวจสอบความเที่ยงตรง เช่นContent validity • ทดลองใช้(Try out) • หาคุณภาพรายข้อ เช่นDifficulty, Discrimination • หาคุณภาพทั้งฉบับ เช่นReliability

  46. คุณภาพของแบบทดสอบ(Test) • ความเที่ยงตรง(Validity) • ความยากง่าย(Difficulty) • อำนาจจำแนก(Discrimination) • ความเชื่อมั่น(Reliability)

  47. คุณภาพของแบบมาตรประมาณค่า(Rating Scale) • ความเที่ยงตรง(Validity) • อำนาจจำแนก(Discrimination) • ความเชื่อมั่น(Reliability)

  48. คุณภาพของแบบสัมภาษณ์ แบบตรวจสอบรายการ แบบสังเกต • ความเที่ยงตรง(Validity)

  49. แบบแผนการทดลอง The One-Group, Pretest-Posttest Design O1 X O2

  50. The Nonequivalent, Pretest-Posttest Design O1 X O2 O3 X O4

More Related