230 likes | 497 Views
แนวทางในการใช้งานโปรแกรมประยุกต์บน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ในการสำรวจข้อมูลบำรุงทาง โครงการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการรายงานข้อมูลงานบำรุงทาง ของกรมทางหลวงชนบท. โดย สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักบำรุงทาง กรมทางหลวงชนบท หน่วยปฏิบัติการวิจัยการจัดการโครงสร้างพื้นฐาน. หัวข้อการนำเสนอ. 2.
E N D
แนวทางในการใช้งานโปรแกรมประยุกต์บนแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ในการสำรวจข้อมูลบำรุงทางแนวทางในการใช้งานโปรแกรมประยุกต์บนแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ในการสำรวจข้อมูลบำรุงทาง โครงการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการรายงานข้อมูลงานบำรุงทางของกรมทางหลวงชนบท โดย สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักบำรุงทาง กรมทางหลวงชนบท หน่วยปฏิบัติการวิจัยการจัดการโครงสร้างพื้นฐาน
การนำนโยบาย อทช. สู่งานซ่อมบำรุงทาง • ความโปร่งใส ในการจัดซื้อ จัดจ้าง • โปร่งใสในทุกกระบวนการ • สำรวจออกแบบประมาณการตรวจรับเบิกจ่ายใช้งาน ปริมาณ ? • ถูกต้อง • ตรวจสอบได้ การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ประเภท/คุณสมบัติ? • เป็นไปตามกรอบเกณฑ์กติกา วิธีการจัดซื้อ? 7จริง การตรวจรับ/ส่งมอบ? • ถูกต้อง • เหมาะสมดี การจ้างแรงงาน จำนวน ค่าจ้าง คุณสมบัติ ระยะเวลา การจ้างบริการ ซ่อม คจก. ราคา คุณภาพ ระยะเวลา
การนำนโยบาย อทช.สู่งานซ่อมบำรุงทาง • การนำ 7 จริง มาใช้สนับสนุนนโยบาย • 1. การสำรวจจริง • 2. การออกแบบจริง • 3. การประมาณการจริง • 4. การจัดหาวัสดุจริง • 5. การเบิกจริง • 6. ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ ตามสภาพจริง • 7. รายงานจริง
แนวทางการปฏิบัติงานโดยใช้แท็บเล็ตแนวทางการปฏิบัติงานโดยใช้แท็บเล็ต 2 3 4 1 ปรับปรุงหรือ เรียกใช้ข้อมูล นำเข้าข้อมูลสู่ ระบบฐานข้อมูล นำข้อมูลมาบันทึก ในรูปแบบที่กำหนด • มีขั้นตอนเยอะ • มีโอกาสผิดพลาดสูง • ใช้กระดาษ เครื่องพิมพ์มาก • ทำแบบสำรวจแล้วยังต้องมากรอก CRD • จัดเก็บข้อมูลเก่าไม่เป็นระบบ • สืบค้นข้อมูลเก่ายาก • ใช้บุคลากรมมาก คนสำรวจ คนคีย์ 5 สำรวจข้อมูลบำรุงทาง บันทึกข้อมูลลงแท็บเล็ต พิมพ์รายงาน เพื่อนำไปใช้งาน 6
กระบวนการทำงานของอุปกรณ์ Tablet ตรวจสอบข้อมูลภายในระบบ CRD ดาวน์โหลดข้อมูลเข้าแท็บเล็ต เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต สำรวจข้อมูลบำรุงทาง ข้อมูล CRD ข้อมูลสำรวจ ข้อมูลการซ่อมบำรุง ข้อมูลการประเมินโครงข่ายทาง นำเข้าข้อมูลบำรุงทาง เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ระบบ RMMS ระบบ PMMS ระบบ CRD อนุมัติข้อมูล ส่งออกรายงาน 7
การตรวจสอบข้อมูลภายในระบบ CRD http://crd2.drr.go.th 8
ตรวจสอบสถานะของสายทางตรวจสอบสถานะของสายทาง 9
สายทางมีข้อมูล GIS บนแผนที่ถูกต้อง 10
รายละเอียดในแต่ละช่วง กม. มีความเป็นปัจจุบัน 11
ข้อมูลที่จัดเก็บภายในโปรแกรมประยุกต์ข้อมูลที่จัดเก็บภายในโปรแกรมประยุกต์ ไม่สามารถแก้ไขข้อมูล สามารถจัดเก็บข้อมูล 12
ข้อมูลที่จัดเก็บภายในโปรแกรมประยุกต์ข้อมูลที่จัดเก็บภายในโปรแกรมประยุกต์ ข้อมูลทั่วไปของถนน • เป็นข้อมูลพื้นฐานของสายทาง ซึ่งจัดเก็บอยู่ภายในระบบฐานข้อมูลกลางของกรมทางหลวงชนบท (CRD) • รหัสสายทาง ชื่อสายทาง • รหัสสะพาน ชื่อสะพาน • ตำแหน่งที่ตั้ง • ความกว้าง ความยาว ระยะทางรวม • ประเภทผิวทาง / ไหล่ทาง • หน่วยงานรับผิดชอบ • นำเข้าข้อมูลสายทางจากระบบ CRD สู่ฐานข้อมูลภายในแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ตามความต้องการของผู้ใช้งานได้ เพื่อรองรับการวางแผนการสำรวจสายทาง (ไม่จำเป็นต้องนำเข้าทุกสายทาง) • ข้อมูลพื้นฐาน “ไม่” สามารถแก้ไขภายในแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ได้ จำเป็นต้องดำเนินงานผ่านระบบ CRD เท่านั้น 13
เป็นข้อมูลส่วนประกอบอื่นถนนและอื่นๆ ซึ่งจัดเก็บอยู่ภายในระบบฐานข้อมูลกลางของกรมทางหลวงชนบท (CRD) • เครื่องหมายจราจร: ป้ายจราจร หลักนำโค้ง Guard rail หลักกิโลเมตร ไฟฟ้าแสงสว่าง สัญญาณไฟจราจร Timber Barricade • ข้อมูลท่อลอดกลม ท่อลอดเหลี่ยม และรางระบายน้ำ • ข้อมูลด้านสังคม • ข้อมูลทางเชื่อม / ข้อมูลศาลาพักผู้โดยสาร • สามารถ “แก้ไข” หรือ “เพิ่มเติม” ข้อมูลส่วนประกอบอื่นถนน และข้อมูลอื่นๆ ภายในแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ได้ • ข้อมูลที่มีการ “แก้ไข” หรือ “เพิ่มเติม” จะถูกบันทึกกลับเข้าสู่ระบบ CRD ในสถานะของสายทาง “รออนุมัติ” ข้อมูลส่วนประกอบอื่นถนน 14
ข้อมูลในการสำรวจและการดำเนินงานซ่อมบำรุงปกติข้อมูลในการสำรวจและการดำเนินงานซ่อมบำรุงปกติ • ข้อมูลการประเภทความเสียหาย / วิธีการซ่อมบำรุง • การทดแทน / การบำรุงรักษา • การตัดหญ้า ทาสี หยอดรอยต่อ • ภาพถ่ายประกอบการดำเนินงานซ่อมบำรุง • ปริมาณการใช้วัสดุในการซ่อมบำรุง • ข้อมูลบันทึกเข้าสู่ระบบอัตโนมัติภายหลังการเชื่อมต่อแท็บเล็ตเข้ากับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต • สามารถส่งออกรายงานได้สอดคล้องกับความต้องการ ข้อมูลการสำรวจและซ่อมบำรุงปกติ 15
สำรวจข้อมูลการประเมินโครงข่าย 4S • ทางสบาย (Service) • ทางสวยงาม (Scenic) • ทางปลอดภัย (Safe) • ทางไม่หลง (Sure) • แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์จะคำนวณคะแนน และเกรดในแต่ละเกณฑ์โดยอัตโนมัติ ภายหลังการประเมิน • บันทึกเข้าฐานข้อมูลโดยอัตโนมัติ และสามารถส่งออกรายงานได้สอดคล้องกับความต้องการของ สบร. ข้อมูลการประเมิน 4S 16
คุณสมบัติขั้นต่ำของแท็บเล็ตคุณสมบัติขั้นต่ำของแท็บเล็ต • ระบบปฏิบัติการ Android 4.0 ขึ้นไป • รองรับความละเอียดหน้าจอ 1280 × 800 พิกเซล • ความจำภายในเครื่องขึ้นต่ำ 16 กิกะไบต์ • ความเร็วสัญญาณนาฬิกาขั้นต่ำ 1.2 GHz หน่วยประมวลผลหลักอย่างน้อย 4 แกน • หน่วยความจำหลัก (RAM) อย่างน้อย 2 GB • รองรับการทำงานระบบ GPS ในตัว และรองรับ A-GPS พร้อมด้วยระบบเข็มทิศ • รองรับการเชื่อมต่อด้วยเครือข่ายไร้สาย (Wi-fi) และ GPRS / EDGE / 3G • รองรับการบันทึกภาพถ่ายด้วยกล้องด้านหลัง 18
วิธีการใช้งานโปรแกรมประยุกต์วิธีการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ 19