570 likes | 719 Views
การบูรณาการ. เทคโนโลยีสารสนเทศระบบรับแจ้งเหตุฉุกเฉิน. 7 กุมภาพันธ์ 2554 รพ.ลำปาง. ก่อนการบูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับหน่วยงานเกี่ยวข้อง. ต้อง รู้เรา ต้อง รู้เขา. รู้เรา ว่าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ของ เรา มีอะไรบ้าง. ระบบสารสนเทศสื่อสารสาธารณสุข.
E N D
การบูรณาการ เทคโนโลยีสารสนเทศระบบรับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 7 กุมภาพันธ์ 2554 รพ.ลำปาง
ก่อนการบูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับหน่วยงานเกี่ยวข้องก่อนการบูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับหน่วยงานเกี่ยวข้อง ต้องรู้เรา ต้องรู้เขา
รู้เรา ว่าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของเรามีอะไรบ้าง
ระบบสารสนเทศสื่อสารสาธารณสุขระบบสารสนเทศสื่อสารสาธารณสุข ระบบสื่อสารของกระทรวงสาธารณสุขใช้ในปัจจุบัน มี 3 ระบบ คือ ระบบโทรศัพท์ (ใช้สำหรับรับแจ้ง/ประสานเหตุ) ระบบสื่อสารทางวิทยุ (ใช้ในการรับ/ส่ง/ประสานทีมปฏิบัติงาน) ระบบ Internet ใช้บันทึกข้อมูล และสื่อสาร VoIP (e-Radio) 4
e-Radio e-Radio หมายถึง วิทยุคมนาคมที่ทำการถ่ายทอดสัญญาณผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์อาศัยเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการถ่ายทอดสัญญาณระยะไกล ระบบสื่อสารทางวิทยุคมนาคมสามารถที่จะติดต่อได้ระยะไม่ไกลเนื่องจากข้อจำกัดในเรื่องของพื้นที่และความสามารถของเครื่องวิทยุคมนาคมรวมถึงระบบสายอากาศ ซึ่งการจะทำให้ระบบสื่อสารสามารถติดต่อได้ไกลขึ้นจะต้องอาศัยทรัพยากรและทุนที่สูงมาก แต่ในปัจจุบันระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ระบบโครงข่ายมีความก้าวหน้ามาก และรวมทั้งสามารถจัดหาระบบได้ง่ายดังนั้น ระบบ e-Radio เป็นอีกวิธีการในการแก้ปัญหาระบบ สื่อสารที่อาศัยเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในการถ่ายทอดสัญญาณระยะไกล
e-Radio ระบบ e-radio ทำอะไรได้บ้าง และมีประโยชน์อย่างไร1. สามารถสื่อสารโดยการผ่านระบบคอมพิวเตอร์ระยะไกล2. สามารถสื่อสารผ่านระบบวิทยุคมนาคม3. สามารถถ่ายทอดสัญญาณเสียง สำหรับการประชุม4. สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายระบบวิทยุคมนาคมต่างเครือข่ายได้อย่างสะดวก5. การประยุกต์ใช้ในสำนักงาน แทนระบบโทรศัพท์6. ลดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสารของสำนักงาน สะดวกสำหรับการใช้งาน7. สามารถติดต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว และเป็นแหล่งรวมข่าวสารในยามจำเป็น
e-Radio การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบVoIP (e-Radio) (1)
e-Radio การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบVoIP (e-Radio) (2)
e-Radio การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบVoIP (e-Radio) (3)
e-Radio การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบVoIP (e-Radio) (4)
e-Radio การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบVoIP (e-Radio) (5)
e-Radio การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบVoIP (e-Radio) (6)
e-Radio การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบVoIP (e-Radio) (7)
e-Radio การพัฒนา และเชื่อมต่อระบบ e-Radio • ศูนย์สื่อสารควบคุม และสั่งการระดับกระทรวง 1. ศูนย์นเรนทร 2. ศูนย์เทวะเวสม์ 3. ศูนย์พญาไท • ศูนย์สื่อสารควบคุม และสั่งการระดับจังหวัด โรงพยาบาลประจำจังหวัด หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • จังหวัดที่มีความจำเป็นที่ต้องใช้ระบบทวนสัญญาณ เช่น ลำปาง
e-Radio การใช้ระบบ e-Radio เพื่อการประชุม • สามารถทำได้โดยใช้ห้องที่ไม่ได้เชื่อมต่อวิทยุสื่อสาร • ควรมีข้อความแจ้งผู้เกี่ยวข้องทราบ • ควรประสานแจ้งผู้ควบคุม Server เปิดห้องกิจกรรมพิเศษเพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับกิจกรรม
e-Radio วิธีการติดตั้งและใช้งานโปรแกรม e-Radio1. ดาวน์โหลดโปรแกรม e-Radio ได้ที่ www.fw192.com 2. ตั้งค่าโปรแกรม และหมายเลข e-Radio Server3. ติดตั้งและตั้งค่าโปรแกรม4. ทดสอบสัญญาณกับสถานีในระบบ e-Radio เพื่อน เตือนภัย
โปรแกรม e-Radio เพื่อนเตือนภัย สำหรับใช้งานด้วยคอมพิวเตอร์ท่านสามารถ Downloadได้ที่www.fw192.com
ทดสอบสัญญาณกับสถานีในระบบ e-Radio เพื่อนเตือนภัย
ทดสอบสัญญาณกับสถานีในระบบ e-Radio
โปแกรม e-Radio ที่นำมาใช้งาน สำหรับ RF Gateway สำหรับ Pc User
การตั้งค่า Network สำหรับการเชื่อมต่อระบบเครื่อข่าย การเชื่อมต่อระบบ LAN การเชื่อมต่อระบบ Wireless LAN การเชื่อมต่อระบบ ADSL การเชื่อมต่อระบบ Aircard ผ่านระบบโทรศัพท์
การดาวน์โหลด Software ท่านสามารถดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ Server 203.157.80.80 แบ่งออกเป็น 2 แบบ สำหรับ Pc User สำหรับ Radio Link รุ่น RF Gateway
การทดสอบความเร็วระบบอินเทอร์เน็ตการทดสอบความเร็วระบบอินเทอร์เน็ต สามารถใช้การทดสอบผ่าน ระบบที่ http://speedtest.adslthailand.com
ปัญหาการใช้โปรแกรม e-radio การเชื่อมต่อระบบ Server e-Radio ไม่ได้ เกิดจากการปิด Port สื่อสาร การเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตช้า ทำให้ระบบเสียงช้ากว่าปกติ ซึ่งปกติประมาณ 1 วินาที การเชื่อมต่อระบบไมโครโฟน และไม่สามารถสื่อสารด้วยเสียงได้ การสื่อสารผ่านระบบเสียง แล้วเกิดอาการ เสียงแตกรับฟังไม่ชัดเจน หรือเกิด oVer Modulater เกิดอาการเสียงเบาขณะพูดคุยผ่านระบบ e-radio เกิดจากไม่ได้ปรับสัญญาณไมค์โครโฟน หรือไมโครโฟนรับสัญญาณได้อ่อน
ปัญหาการใช้โปรแกรม e-radio (ต่อ) 6. สัญญาณ VOX ทำงานค้างตลอดเวลา 7. เกิดสัญญาณรบกวนการใช้งานในห้องสนทนา เนื่องจากผู้ใช้งานไม่ตั้งใจ เช่น เปิดเพลงเข้าระบบ e-radio เปิด VCD หรือ DVD ทำให้เกิดเสียงเข้ามาในระบบ 8. เข้า Server ไม่ได้ เนื่องจาก Server หยุดทำงานชั่วคราวเกิดจากไฟฟ้าดับ หรือระบบอินเทอร์เน็ตไม่ทำงาน
ปัญหาการใช้โปรแกรม e-radio RF Gateway สัญญาณวิทยุคมนาคมของสถานี LINK ถูกรบกวน ทำให้ระบบเสียงเข้ามาที่ห้องสนทนาอยู่ตลอด สัญญาณเสียงที่ออกมาจากสถานี LINK แตกตลอดเวลาที่มีการใช้งาน สัญญาณเสียงที่รับเข้ามาในระบบเบามากๆ การเกิดอาการทำงานแบบไม่เสถียรภาพของสถานี LINK สถานี LINK เกิดสัญญาณรบกวนหลังการรับสัญญาณทุกๆ ครั้ง
การทำงานของ Radio Modem รับสัญญาณเสียงจากวิทยุคมนาคมผ่านทางแจ็คลำโพงภายนอก หรือภายในเครื่อง ควบคุมการส่งออกอากาศของเครื่องวิทยุคมนาคม โดยการควบคุม ผ่านโปรแกรม e-Radio รุ่น RF GateWay พร้อมกันกับการนำสัญญาณเสียงจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ออกไปยังเครื่องวิทยุคมนาคมผ่านทางสัญญาณไมโครโฟนของเครื่องวิทยุคมนาคม
การเชื่อมต่อ Radio Modem เพื่อใช้งานเป็นสถานี Link ประกอบระหว่างเครื่องวิทยุคมนาคม เครื่องคอมพิวเตอร์ และชุด Radio Modem • เชื่อมต่อสายสัญญาณ RS 232 ของ Radio Modem เข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ • เชื่อมต่อสายสัญญาณเสียงจาก Radio Modem ผ่านแจ็คไมค์โครโฟน(Mic)และแจ็คลำโพง (SP Out) • เชื่อมต่อสายสัญญาณจาก Radio Modem กับแจ็คไมโครโฟนของเครื่องวิทยุคมนาคม (หากเชื่อมต่อผ่านไมโครโฟนจะไม่สามารถใช้งานตามปกติได้)
การปรับแต่งสถานี Link การปรับตั้งค่า SoftWare RF GateWay การปรับชุด Radio Modem และการตั้งค่า Volume เครื่องวิทยุคมนาคม เพื่อไม่ให้เสียงแตก และหากตั้ง Volume ไว้ต่ำเสียงจะเบา
การตั้งค่า SoftWare เข้าไปใน RigKeying Rig Control Method เลือก Com Port ก่อนหน้าอยู่ที่ VOX Com Port Keying เลือกค่าตามหมายเลขที่ใช้งานสามารถตรวจสอบบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ มักจะเป็น COM1 หรือ COM2 เลือกสัญญาณ ควบคุมด้วยสัญญาณ RTS Carrier Operated Squelch เลือก VOX และเลือก Invert Voltage Click OK
การทดสอบการส่งออกอากาศด้วยโปรแกรมการทดสอบการส่งออกอากาศด้วยโปรแกรม เมื่อตั้งค่า RigKeying เรียบร้อยแล้วจากนั้น จึงจะสามารถทดสอบการส่งด้วยโปรแกรมได้ Click Mouse ที่ Apply เครื่องวิทยุคมนาคมจะต้องส่งอากาศ พร้อมกับจะมีเสียง Tone ความถี่ที่ตั้งไว้ผสมไปด้วย
การทดสอบความชัดเจน ว 16 ไม่ ว2 เนื่องจากไม่อยู่หน้าเครื่อง หรือ กดเพื่อพูดไม่ทัน เกิดการกด เพื่อพูดซ้อนกัน ภารกิจงานอยู่ ไม่ตอบ Internet ช้ามากทำให้เกิดการหลุดออกจากระบบ การกด เพื่อพูดแล้วรอนานเกินไป ทำให้เกิดความไม่แน่ใจในการส่งข่าว หรืดทดสอบความชัดเจน อาจจะด้วยสาเหตุก่อนหน้านี้
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปางร่วมกับ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลลำปางได้นำระบบสารสนเทศและการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต มาประยุกต์ใช้ในงานประจำและรายงานสถานการณ์ ซึ่งเป็นระบบฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย
ระบบสารสนเทศและการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตมีดังนี้ระบบสารสนเทศและการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตมีดังนี้ • E-Radio ระบบถ่ายทอดสัญญาณเสียง • TeamTalk ระบบประชุมออนไลน์ • LP-VOIP ระบบโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต • Open meeting ระบบประชุมออนไลน์ • Lampang ReferLink ระบบโปรแกรมส่งต่อผู้ป่วย จังหวัดลำปาง
TeamTalk TeamTalk คือระบบประชุมออนไลน์ โดยใช้โปรแกรมบนพื้นฐาน Windows Application ซึ่งผู้ใช้งานสามารถติดต่อกับทุกๆ คนที่ร่วมประชุมได้ทั้งภาพและเสียงแบบรีลไทม์ สิ่งที่จำเป็นในการใช้งานก็มีเพียงแค่ไมโครโฟนและกล้องเว็บแคมเท่านั้นเอง... • พูดคุยทั้งภาพและเสียงแบบรีลไทม์• การส่งข้อความทั้งแบบส่วนตัวและแบบส่วนรวม• การแชร์ไฟล์ให้กับคนในกลุ่ม• สามารถบันทึกข้อความสนทนาลง HDD ได้• มีระบบรักษาความปลอดภัยและยืนยันผู้ใช้งาน
VOIP -ประหยัดค่าใช้จ่ายด้วยการนำเอา VoIP มาใช้นั้นจะเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในด้านต่าง ๆได้เป็นอย่างมากไม่ว่าจะเป็นทางด้านอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์หรือจะเป็นทางด้านระบบของโทรศัพท์เพราะเมื่อคิดค่าใช้จ่ายจากค่าบริการหรือค่าอุปกรณ์ที่เกิดขึ้นแล้วเมื่อมีปริมาณการโทรทางไกลจำนวนมากในระยะยาวก็จะประหยัดค่าใช้จ่ายได้อีก หลายเท่าตัว-เหมาะกับการประชุมทางไกลเมื่อมีเหตุจำเป็นจะต้องประชุมผ่านทางโทรศัพท์ทั่วไปนั้นอาจจะเกิดปัญหาของ การติดต่อสื่อสารได้แต่ด้วย VoIP จะช่วยทำให้สามารถติดต่อสื่อสารด้วยเสียงไปพร้อมกับการรับส่งข้อมูลได้ทันที-รับ-ส่งไฟล์ได้โดยตรง การติดต่อผ่าน VoIP นั้นจะสามารถส่งไฟล์ให้กันได้โดยตรงผ่านระบบ P2P โดยอาศัยเพียงแค่ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของ VoIP เท่านั้นก็สามารถใช้งานได้
VOIP ข้อจำกัดของ VOIP... -คุณภาพเสียงถึงแม้ว่าจะมีราคาและค่าใช้จ่ายในการโทรที่ถูกกว่าโทรศัพท์ทั่วไปแต่สิ่งที่เห็นได้ชัดก็คือคุณภาพของเสียงสนทนาที่จะด้อยลงทั้งนี้ก็เนื่องมาจากการลดคุณภาพของเสียงลงเพื่อที่จะส่งไปยังปลายทางได้ เร็วมากขึ้น
VOIP ลักษณะการเชื่อมต่อ VOIP... VOIP Adapter
LPH - VOIP User Log จังหวัดลำปาง...
LPH - VOIP Diagram...
Open Meeting Google Open Meeting คือ ระบบการประชุมออนไลน์ ซึ่งจะทำงานบนพื้นฐานของเว็บแอพพริเคชั่น ผู้ใช้สามารถพูดคุยกันผ่านไมค์และกล้องเว็บแคมได้อย่างอิสระ รวมถึงการแชร์ไฟล์, หน้าจอพรีเซ็นเทชั่น, การบันทึกการสนทนาหรือการประชุม รวมถึงการพรีเซ็นบนกระดานไวท์บอร์ดแบบรีลไทม์ร่วมกับผู้ร่วมประชุมคนอื่นๆ ได้พร้อมกัน นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถพัฒนา GUI ได้โดยใช้ระบบ Flash และระบบการประชุมออนไลน์นี้ ยังเปิดให้ใช้งานได้ฟรี และไม่จำกัดจำนวนผู้ใช้งานอีกด้วย
Open Meeting LPH - OpenMeeting
Open Meeting LPH - OpenMeeting
Open Meeting LPH - OpenMeeting
Lampang ReferLink ระบบโปรแกรมส่งต่อผู้ป่วย จังหวัดลำปาง