400 likes | 624 Views
สวัสดี. อาจารย์ที่ปรึกษาชมรม นายกสโมสรนักศึกษา คณะกรรมการสโมสรนักศึกษา ประธานชมรมฯ ผู้ประสงค์ให้งานกิจกรรมนักศึกษามีคุณภาพ. งานกิจกรรมนักศึกษา กับการประกันคุณภาพการศึกษา. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธงชัย สิทธิกรณ์. ผู้อำนวยการสำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์.
E N D
สวัสดี • อาจารย์ที่ปรึกษาชมรม • นายกสโมสรนักศึกษา • คณะกรรมการสโมสรนักศึกษา • ประธานชมรมฯ • ผู้ประสงค์ให้งานกิจกรรมนักศึกษามีคุณภาพ
งานกิจกรรมนักศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษางานกิจกรรมนักศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธงชัย สิทธิกรณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ Office: 02-807-4500 ext.347 Mobile: 081-925-6155
ต้องมีคุณภาพ เพราะ ... ระบบการประกันคุณภาพที่มีประสิทธิภาพของสถาบัน จะสร้างความมั่นใจ ให้แก่ผู้ปกครอง และชุมชน ว่า บุตรหลานของเขา จะได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาค ตามมาตรฐานคุณภาพที่กำหนด
กิจกรรมนักศึกษา 3 เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพ • กิจกรรมการบริหารจัดการ • กิจกรรมการเรียนการสอน • กิจกรรมพัฒนานักศึกษา
“รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับเยาวชน“รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับเยาวชน โดยเฉพาะนักเรียนนักศึกษา ซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ จึงจำเป็น ต้องมีการสร้างเสริมประสบการณ์ ให้รู้จักตนเอง โลกของอาชีพ การตั้งเป้าหมาย และเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพให้ตรงกับความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และบุคลิกภาพของแต่ละบุคคล” นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ อธิการบดี ต้องมีการสร้างเสริมประสบการณ์
3 ประเด็นชวนคุยกับการประกันคุณภาพ กิจกรรมนักศึกษา • หลักการและนโยบายการประกันคุณภาพ • ระบบและกระบวนการประกันคุณภาพ • การประกันคุณภาพ สำหรับงานกิจกรรมนักศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 47 “ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับประกอบด้วยการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพนอกระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ”
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 48 “ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องโดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ”
สรุปการประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษาสรุปการประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา • ต้องมีการประกันคุณภาพภายใน-ภายนอก • ต้องมีการประกันคุณภาพทุกกิจกรรมที่ดำเนินการในมหาวิทยาลัย • ต้องมีการรายงานผลการดำเนินงาน และเปิดเผยต่อสาธารณชน เป็นประจำทุกปี
นโยบายการประกันคุณภาพ ระดับอุดมศึกษา • ให้สถาบันมีเสรีภาพทางวิชาการ (Academic Freedom) • ให้สถาบันมีความเป็นอิสระในการดำเนินงาน(Institutional Autonomy) • ให้การตรวจสอบสถาบันเป็นไปตามความพร้อมของแต่ละสถาบันตามหลักการความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้(Accountability)
ระบบการประกันคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ(Quality Control) หมายถึง การจัดให้มีระบบและกลไกในการควบคุมคุณภาพภายในขององค์ประกอบต่าง ๆ ในอันที่จะส่งผลต่อคุณภาพของบัณฑิตและผลงานด้านต่าง ๆ ซึ่งต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบ ภายใต้หลักการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม การตรวจสอบคุณภาพ(QualityAudit) หมายถึง การตรวจสอบการดำเนินงานของระบบและกลไกควบคุมคุณภาพภายในที่กำหนดไว้ เพื่อพิจารณาว่า กลไกการควบคุมคุณภาพ ยังคงดำเนินการอย่างต่อเนื่องและได้ใช้ระบบพัฒนาขึ้นอย่างสม่ำเสมอ มีขั้นตอนการดำเนินงานที่ทำให้เชื่อได้ว่า จะเกิดผลงานที่มีคุณภาพตามดัชนีและตัวชี้วัดที่กำหนด
การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) หมายถึง กระบวนการวิเคราะห์และเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของหน่วยงานกับเป้าหมาย หรือดัชนีชี้วัดที่กำหนด เพื่อประเมินว่าผลการดำเนินงานที่ได้จากการใช้ระบบการประกันคุณภาพ หรือระบบควบคุมคุณภาพแล้ว ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงคุณภาพมากน้อยเพียงใด ดัชนีชี้วัดคุณภาพ»มาตรฐานคุณภาพ Key Performance Indicator:KPI» Quality
มาตรฐานกองกิจการนักศึกษามาตรฐานกองกิจการนักศึกษา • นโยบาย วัตถุประสงค์ และแผนงาน • การบริหารจัดการ • ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 9มาตรฐานคุณภาพภายใน • ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินงาน • การเรียนการสอน • กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา • การวิจัย • การบริการทางวิชาการแก่สังคม • การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม • การบริหารและการจัดการ • การเงินและงบประมาณ • ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพภายนอกการประกันคุณภาพภายนอก เป็นระบบการประกันคุณภาพโดย “สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)” (สมศ.) ซึ่งเป็นองค์กร ที่ตั้งขึ้นจากพระราชกฤษฎีกา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดย สมศ. มีหน้าที่ ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสถาบัน ซึ่งกระทำอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก ๆ 5 ปี เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบันฯ อย่างต่อเนื่อง
การประกันคุณภาพภายนอก เพื่อให้มหาวิทยาลัย ... • ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาการศึกษา (Awareness) • มีความพยายาม ในการพัฒนาสู่คุณภาพการศึกษา (Attempt) • มีผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน ที่ได้มาตรฐาน (Achievement)
7มาตรฐานคุณภาพภายนอก • ด้านคุณภาพบัณฑิต • ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ด้านการบริการวิชาการ • ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม • ด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร • ด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน • ด้านระบบการประกันคุณภาพ
V S ควบคุม การดำเนินงาน ตามมาตรฐานคุณภาพ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแผนดำเนินงาน ตรวจสอบ และประเมิน ตามองค์ประกอบคุณภาพ รายงานสรุป ข้อมูลป้อนกลับเพื่อการพัฒนา / ปรับปรุง รายงาน ผลการตรวจประเมิน ตรวจ และ ประเมิน โดย สมศ. การติดตาม ทุก 5 ปี การประกันคุณภาพภายใน ภายนอก ประกันคุณภาพภายใน ประกันคุณภาพภายนอก ข้อมูลป้อนกลับสถาบัน เพื่อการพัฒนา ข้อมูลรายงานภาครัฐ
มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษาและคุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา
มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา
มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา
มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา
มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา
มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา
มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา
มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา
มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา
มาตรฐานการดำเนินงาน กองกิจการนักศึกษา
4 แนวทางการดำเนินกิจกรรมของนักศึกษา • การดำเนินงานเชิงระบบ (PDCA) • ใช้ประสบการณ์/ ความรู้จากการดำเนินงานในอดีต • มีการประมวลผล เพื่อค้นหา Best practice • การเขียนรายงานBest practice Best practiceคือ การดำเนินงานกิจกรรมที่ดีขึ้น โดยสามารถอธิบายได้ว่า ดีแค่ไหน ? ดีอย่างไร ? และ ดีขึ้นเพราะอะไร ?
การดำเนินงานเชิงระบบPDCAการดำเนินงานเชิงระบบPDCA • Plan คือ การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ได้กำหนดขึ้น • Do คือ การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานที่ได้กำหนดไว้ • Check คือ การตรวจสอบผลการดำเนินงานในแต่ล่ะขั้นตอนของแผนงานว่ามีปัญหาอะไรเกิดขึ้น จำเป็นต้องปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขขั้นตอนใดในแผนงานหรือไม่ อย่างไร • Actคือ การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไข ส่วนที่มีปัญหา หากไม่มีปัญหาใดๆ Act คือการ ยอมรับแนวทางการปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนดนั้น เพื่อนำไปใช้ในการทำงานครั้งต่อไป Dr. W. Edwards Deming 1900 - 1993
4การวางแผนอย่างเป็นระบบ4การวางแผนอย่างเป็นระบบ • กำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย ให้คลอบคลุมความคาดหวังของสังคม และผู้มีส่วนได้เสีย โดยสอดคล้องกับเป้าหมายของมหาวิทยาลัย • มีแผนดำเนินงานตลอดกิจกรรม และอนาคต • ระบุดัชนีชี้วัดความสำเร็จของกิจกรรมให้ชัดเจน • จัดโครงสร้าง การมอบหมายภารกิจในการดำเนินกิจกรรม ให้เอื้อต่อการพัฒนา และสร้างสรรค์
5การจัดกิจกรรมให้มีประสิทธิผลในระยะยาว5การจัดกิจกรรมให้มีประสิทธิผลในระยะยาว • ความเชื่อของนายกสโมสร • การทำงานเป็นทีมอย่างต่อเนื่องของคณะกรรมการ และผู้เกี่ยวข้อง • ทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบของทีมงาน • การสนับสนุนจากแผนกกิจกรรมนักศึกษา และกองกิจการนักศึกษา • บูรณาการระบบประกันคุณภาพ เข้ากับการดำเนินกิจกรรม
บทส่งท้าย • กองกิจการนักศึกษา ควรเปลี่ยนแนวคิดจาก เน้นกฎ ไปเป็น เน้นภารกิจ และ เน้นการป้องกัน มากกว่า การแก้ไข ทั้งต้องให้ความสำคัญกับการประเมินผลการดำเนินกิจกรรมเป็นสำคัญ • นักศึกษา ควรร่วมกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยสนับสนุน • นักศึกษา ควรมีส่วนร่วมในกระบวนการดำเนินงานประกันคุณภาพในระดับมหาวิทยาลัย • ควรบริหารจัดการด้วยข้อมูล จากผลการวิเคราะห์วิจัยตามข้อเท็จจริง • กิจกรรมที่ดี ควรมีประสิทธิภาพ ประหยัดเวลา และลดค่าใช้จ่าย.
“ ในฐานะผู้ได้รับประโยชน์ นักศึกษาจึงควรต้องมีบทบาท ในการมีส่วนร่วม กับการดำเนินงานประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะงานกิจกรรมนักศึกษา เพื่อให้งานการประกันคุณภาพ ดำเนินไปอย่างเต็มประสิทธิภาพ เพราะคุณภาพของนักศึกษา คือคุณภาพของมหาวิทยาลัย นั่นเอง ” ผศ.ธงชัย สิทธิกรณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา