1 / 35

นโยบาย / แนวทางการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข

นโยบาย / แนวทางการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข. นพ.พิพัฒน์ ยิ่งเสรี. รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข. จากนโยบาย สู่การปฏิบัติ. นพ.ปภัสสร เจียมบุญศรี. ผอ.สถาบันพระบรมราชชนก. วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2548. ระบบ. คน. แนวคิด ความสัมพันธ์ ระหว่างคน ระบบ และองค์กร. องค์การ.

Download Presentation

นโยบาย / แนวทางการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบาย / แนวทางการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข นพ.พิพัฒน์ ยิ่งเสรี รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากนโยบาย สู่การปฏิบัติ นพ.ปภัสสร เจียมบุญศรี ผอ.สถาบันพระบรมราชชนก วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2548

  2. ระบบ คน แนวคิด ความสัมพันธ์ระหว่างคน ระบบ และองค์กร องค์การ จุดเริ่มต้นของการพัฒนาองค์กรพัฒนาบุคลากรและพัฒนาระบบ

  3. สิ่งที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาบุคลากรสิ่งที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาบุคลากร • สังคมโลก • ประเทศชาติ • รัฐบาล • องค์กร

  4. The Changing World • Knowledge Based Organization • Advance Technology • Result Based Management • Balanced Scorecard • Matrix Reporting System

  5. MOPH in The Changing World • KBO ------> Competent • AT ------> Competitive • RBM------> CEO • BSC ------> Creative • MRS------> Compatriot

  6. ปัจจัยแวดล้อมบ้านเมืองเราปัจจัยแวดล้อมบ้านเมืองเรา การค้าเสรี FTA การรุกคืบทางวัฒนธรรม ความเสียเปรียบ ทางเทคโนโลยี ทุนนิยมตะวันตก

  7. ความแตกต่างระหว่างการทำงานในอดีตกับปัจจุบันความแตกต่างระหว่างการทำงานในอดีตกับปัจจุบัน • ข้อมูล • เทคโนโลยี • บุคคลที่เข้ามาเกี่ยวข้อง • งบประมาณที่ใช้ในการทำงาน • ระยะเวลาในการวางแผน และวงรอบในการทำงาน • ความซับซ้อนและความไม่แน่นอน (เพิ่มมากขึ้น) (COMPLEXITY & UNCERTAINTY) --------> -------------> Behavior Complexity

  8. นโยบายที่มีผลกระทบโดยตรงนโยบายที่มีผลกระทบโดยตรง ภาครัฐ กระทรวงสาธารณสุข

  9. นโยบายภาครัฐ 1. แผนพัฒนาระบบราชการไทย 2. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ 3. สำนักงาน ก.พ.

  10. 1. แผนพัฒนาระบบราชการไทย จุดประสงค์ พัฒนาคุณภาพการบริการ ปรับบทบาท/ภารกิจให้เหมาะสม ยกระดับขีดความสามารถในการทำงาน ตอบสนองการปกครองระบบประชาธิปไตย

  11. ยุทธศาสตร์ เปลี่ยนกระบวนทัศน์และวิธีการทำงาน ปรับโครงสร้างการบริหารแผ่นดิน รื้อระบบการเงินและงบประมาณ สร้างระบบการบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทน เปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยม เสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย เปิดระบบราชการให้ประชาชนมีส่วนร่วม

  12. 2. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินใน 4 มิติ ประสิทธิภาพ คุณภาพ ประสิทธิผล การพัฒนาองค์กร -รองรับการเปลี่ยนแปลง (พัฒนาคน ข้อมูล สารสนเทศ) คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

  13. 60% 10% 10% 20%

  14. 3. สำนักงาน กพ. นโยบายพัฒนาข้าราชการ ส่วนราชการจัดสรรงบพัฒนา ฯ 3%ของหมวดเงินเดือนและค่าจ้าง ข้าราชการได้รับการพัฒนารายบุคคล กำหนด10 วัน/คน/ปี และเป็นวันปฏิบัติราชการ

  15. ยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยม สร้างนักบริหาร (ผู้นำยุคใหม่) พัฒนาขีดสมรรถนะแก่ทรัพยากรบุคคล

  16. นโยบายกระทรวงสาธารณสุขนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2544 นโยบายการสร้างประกันสุขภาพ เปลี่ยนการบริหารจัดการงบประมาณใหม่ ขาดงบประมาณพัฒนาบุคลากร ปี 2545 นโยบายการจัดทำแผนกำลังคนระดับเขต แผนพัฒนาฯ ไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย

  17. ปี 2546 ปรับโครงสร้างงาน/ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค - จังหวัดไม่มีผู้รับผิดชอบชัดเจน - บทบาท/ภารกิจไม่ชัดเจน

  18. การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของนโยบายและแผนพัฒนาบุคลากร ในแผน ฯ 1 - 9 แผนฯ1 - 6 (ปี 2505 – 2534) เน้นพัฒนากลุ่มเป้าหมายสายวิชาชีพ เนื้อหาการพัฒนาทางด้านเทคนิคทางวิชาชีพ งบประมาณส่วนใหญ่อยู่ในระดับผู้บริหาร

  19. แผนฯ7 – 8 (ปี 2535 – 2544) กลุ่มเป้าหมายขยายมากขึ้น เนื้อหาด้านบริหาร วิชาการใหม่ ๆ มากขึ้น รูปแบบ - เน้นจัดอบรม

  20. แผนฯ 9(ปี 2545 – 2549) ยุทธศาสตร์ : การบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ แผนความต้องการ แผนการกระจายกำลังคน แผนพัฒนากำลังคน -------> “Healthy Thailand”

  21. นโยบายพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขนโยบายพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข นโยบายพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข 1. ส่วนราชการจัดระบบการพัฒนาบุคลากรให้ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายทุกระดับ - หาความต้องการพัฒนาCompetency 2. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากร - กำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน

  22. 3. พัฒนาระบบข้อมูลด้านการพัฒนาบุคลากร - ใช้ประกอบการวางแผนพัฒนาฯ 4. ส่งเสริมให้สร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ พัฒนาสื่อ เทคโนโลยีที่เหมาะสม

  23. 5. ส่งเสริมการดำเนินงานพัฒนาฯ แบบบูรณาการ 6. ดำเนินการในลักษณะเครือข่ายกับองค์กรต่าง ๆ

  24. แนวทางการดำเนินการ ส่วนราชการ ตั้งคณะกรรมการพัฒนาบุคลากร (ระดับหน่วยงาน/จังหวัด/เขต) กำหนดทีมรับผิดชอบให้ชัดเจน

  25. กำหนดนโยบายพัฒนา ฯ ขององค์กร จัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนพัฒนาบุคลากรตาม competency ทำแผนจัดสรรงบพัฒนา ฯ ของหน่วยงาน (3%ของหมวดเงินเดือนและค่าจ้าง) ติดตาม/ประเมินผลการพัฒนา

  26. เป้าหมายการพัฒนา 1. บุคลากรสาธารณสุขมีขีดสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานตามภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ 2. นักบริหารสาธารณสุขทุกระดับ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงและนักบริหารมืออาชีพ

  27. ศักยภาพของกระทรวงสาธารณสุขศักยภาพของกระทรวงสาธารณสุข Competency Base

  28. คุณสมบัติของบุคลากรที่ต้องการ(ระดับองค์ความรู้และวุฒิภาวะ)คุณสมบัติของบุคลากรที่ต้องการ(ระดับองค์ความรู้และวุฒิภาวะ) คุณธรรมและความรับผิดชอบ ความรู้ในด้านการจัดการ ความรู้พื้นฐานด้านต่างๆ

  29. แหล่งรวมองค์ความรู้ (Knowledge) ทุนมนุษย์ (Human Capital) ค่านิยมองค์กร (Corporate Value) กระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm) วัฒนธรรมองค์กรที่ดี (Corporate Culture) แนวคิดการสร้างทุนมนุษย์

  30. ความสอดคล้อง • วัฒนธรรม • นโยบาย • ภารกิจ • องค์กร • บุคคล กำหนดสมรรถนะ/บทบาท/กลุ่มเป้าหมาย • ผู้บริหาร • ผู้ปฏิบัติ • นักวิชาการ • นักยุทธศาสตร์ • อื่นๆ

  31. จุดอ่อนของการพัฒนาบุคลากรจุดอ่อนของการพัฒนาบุคลากร • ไม่มีทิศทางที่ชัดเจนและต่อเนื่อง • ไม่มีการลงทุน/ไม่มีงบประมาณ • ไม่มีการร่วมมือกันระหว่างหน่วยงาน • ขาดแรงจูงใจ/ ขาดความคิดริเริ่ม • ผู้บริหารไม่ให้ความสนใจเท่าที่ควร จากนโยบาย ------> สู่การปฏิบัติ

  32. ร่วมกันเรียนรู้ ร่วมมือ ร่วมใจ ร่วมกันชื่นชม ร่วมทุกข์ร่วมสุข วิธีการ (ทำอย่างไร) • ร่วมกันรับรู้ • ร่วมกันคิด • ร่วมกันทำ • ร่วมกันตรวจสอบ • ร่วมกันรับผิดชอบ จากนโยบาย ------> สู่การปฏิบัติ

  33. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ จากนโยบาย ------> สู่การปฏิบัติ 1. ผู้บริหารต้องเป็นตัวแบบที่ดี (ให้ความสำคัญ/ให้การสนับสนุน) 2. ตัวบุคลากรต้องตระหนักในการพัฒนาตนเอง 3. หน่วยงานรับผิดชอบแสวงหาแนวทาง ความร่วมมือในทุกระดับ 4. มีการบริหารจัดการที่ดี

  34. เตรียมองค์กรอย่างไรให้พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง พัฒนาบุคลากร

More Related