220 likes | 709 Views
บทที่ 3 ส่วนประกอบของ รายได้ประชาชาติ. ส่วนประกอบรายได้ประชาชาติ. รายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่าย C+I+G+X-M หรือความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (Desire Aggregate Expenditure) หรือ DAE = C+I+G+X-M
E N D
บทที่ 3 ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ http://www.ssru.ac.th
ส่วนประกอบรายได้ประชาชาติส่วนประกอบรายได้ประชาชาติ รายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่าย C+I+G+X-M หรือความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (Desire Aggregate Expenditure) หรือ DAE = C+I+G+X-M ความต้องการจ่ายไม่จำเป็นต้องเท่ากับรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริง การลงทุนผู้ผลิตลงทุนแต่ถ้าคนไม่มีเงินซื้อผู้ผลิตลงทุนก็ขายไม่ออก http://www.ssru.ac.th
ส่วนประกอบรายได้ประชาชาติส่วนประกอบรายได้ประชาชาติ จากการคำนวณรายได้ประชาชาติด้านรายจ่าย GDP = C+I+G+X-M DAE = C+I+G+X-M C เป็นองค์ประกอบของรายจ่ายประชาชาติที่มีมากที่สุด(แล้วแต่สภาวการณ์เศรษฐกิจ) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภค 1. รายได้ 2. อัตราภาษี 3. อัตราดอกเบี้ย 4. สภาพคล่องทางทรัพย์สิน 5. การคาดคะเนราคาและรายได้ 6. การโฆษณา 7. ค่านิยม นักเศรษฐศาสตร์สนใจ ความสัมพันธ์การบริโภคกับรายได้ C = ƒ (y, A1 ,A2 ,….) http://www.ssru.ac.th
ทฤษฎีการบริโภค เคนส์ : C = ƒ ( Yd ) Keynesian Consumption Function C = Ca + b Yd C = การบริโภค Ca = การบริโภคไม่ขึ้นกับรายได้ b = การบริโภคที่เปลี่ยนแปลงเมื่อรายได้เปลี่ยนไป Yd = รายได้สุทธิส่วนบุคคล Yd = 0 , C = Ca เช่น C = 8 + 0.5 Yd http://www.ssru.ac.th
ในกรณีระบบเศรษฐกิจแบบปิด 2 ภาค Yd =C+S S = ƒ( Yd ) S = Yd – C = Yd – ( Ca + b Yd) = (1-b) Yd - Ca S = - Ca + (1-b) Yd http://www.ssru.ac.th
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคและการออมกับรายได้ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคและการออมกับรายได้ APC= Average Propensity To Consume MPC = Marginal Propensity To Consume APS= Average Propensity To Save MPS = Marginal Propensity To Save ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค(APC) = ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม(APC) = ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภค(MPC) = ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการออม(MPS) = http://www.ssru.ac.th
ตารางการบริโภค และการออม เส้นการบริโภค และการออม การบริโภคผันแปรทางด้านเดียวกับรายได้ การเปลี่ยนแปลงการบริโภค และระดับการบริโภค C < Y < < 1 ดังนั้น b < 1 > 1 ดังนั้น b > 0 http://www.ssru.ac.th
กฎเคนส์ 1. APC > 1 และ APS ติดลบ 2. MPC < 1 เมื่อรายได้เพิ่ม APC มีค่าลดลง 3. MPC + MPS = 1 4. MPC ณ. ระดับรายได้สูงจะมีค่าต่ำกว่า MPC ณ. ระดับรายได้ต่ำ MPC คนรวยมากกว่าคนจน ทั้งหมดอยู่บนข้อสมมุติ การบริโภคขึ้นอยู่กับรายได้อย่างเดียว http://www.ssru.ac.th
กฎเคนส์ C = Yd Break – Even Point (APC = 1) C > Yd (APC > 1) C < Yd (APC < 1) โจทย์ กำหนดให้ MPC = 0.6 ถ้ารายได้ใช้จ่ายได้เท่ากับศูนย์ และการบริโภคเท่ากับ 100 หารายได้ที่จุด Break Even Point และหาค่าการบริโภคและการออม และค่า APC และ APS ณ.ระดับรายได้ที่ใช้จ่ายได้ = 500 ล้านบาท http://www.ssru.ac.th
กฎเคนส์ วิธีทำC = Ca+ bYd = 100+ 0.6 Yd รายได้บุคคล ณ.จุด Break – Even PointC = Yd 100+ 0.6 Yd = Yd Yd - 0.6 Yd = 100 (1 – 0.6) Yd = 100 Yd = = = 250 รายได้ ณ. จุด Break Even Point = 250 จาก Yd = 500 C = 100+0.6 (500) รายได้ที่ใช้จ่ายได้ 500 C = 400 จาก S = Yd – C = 500 – 400 = 100 APE = = = APS = = = http://www.ssru.ac.th
การออม Yd = C + S , S = Yd – C S = Yd – (Ca + bYd ) = Yd – Ca - bYd = -Ca + Yd –bYd = - Ca + (1-b) Yd ให้ S = 1 – b และ Sa = -Ca ดังนั้น S =Sa+ SYd จาก S = -Ca – (1-b) Yd (MPC + MPS = 1 MPC = 1-MPS http://www.ssru.ac.th
การลงทุน การลงทุน หมายถึงการใช้จ่ายโดยมีวัตถุประสงค์ สำคัญ คือ ทำให้การผลิตสินค้าและบริการในอนาคตเพิ่มขึ้น การซื้อหุ้นเก่า ซื้อที่ดินเก็งกำไร สินค้าเครื่องจักรมือสองไม่ถือเป็นการลงทุน เพราะมิได้ทำให้ทรัพย์สินประเภททุน ในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ถือเป็นการลงทุนทางการเงิน ปัจจัยกำหนดการลงทุน 1. กำไรที่คาดว่าจะได้รับ 2. รายได้ประชาชาติ 3. การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยี 4. อัตราดอกเบี้ย 5. นโยบายของรัฐบาล I = ƒ (B1, B2, ….) http://www.ssru.ac.th
ความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนกับรายได้ประชาชาติความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนกับรายได้ประชาชาติ การลงทุนแบ่งได้ 2 ประเภท 1. การลงทุนอัตโนมัติ หรือไม่ขึ้นกับรายได้ 2. การลงทุนขึ้นกับรายได้ การเปลี่ยนแปลงระดับการลงทุน และการเปลี่ยนแปลงการลงทุน การเปลี่ยนแปลงระดับการลงทุน (Change) หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ระดับการลงทุน เนื่องจากรายได้ แต่ตัวกำหนดการลงทุนอื่นๆไม่เปลี่ยน การเปลี่ยนแปลงการลงทุน (Shift) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของ ตัวกำหนดการลงทุนอื่นเปลี่ยน แต่รายได้ไม่เปลี่ยน เมื่อเปรียบเทียบการลงทุนกับการบริโภค การบริโภคมีเสถียรภาพ มากกว่าการลงทุน เพราะการลงทุนขึ้นอยู่กับปัจจัยล้วนแต่ไม่แน่นอน http://www.ssru.ac.th
การใช้จ่ายของรัฐบาล (G) 1. รายจ่ายของรัฐบาลแบ่งได้ 1.1 รายจ่ายเงินเดือนรัฐบาล 1.2 รายจ่าเพื่อซื้อสินค้าและบริการ 1.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุนภาครัฐบาล – การพัฒนาประเทศ – การส่งเสริมการลงทุน 2. รายจ่ายเงินโอนของรัฐบาล ได้แก่ เงินเงินสงเคราะห์ เงินสวัสดิการ ฯลฯ เงินโอนไม่ได้เป็นตัวกำหนดรายได้ประชาชาติโดยตรง แต่มีผลโดยอ้อมเมื่อเงินโอน เพิ่มขึ้น เงินได้ของประชาชนก็เพิ่มขึ้น ทำให้การบริโภคเพิ่มขึ้น http://www.ssru.ac.th
ตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาลตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาล 1. ความจำเป็นในการใช้จ่าย เป็นตัวกำหนดการใช้จ่ายตั้งงบรายจ่ายก่อนหารายได้ภายหลัง 2. นโยบายของรัฐบาล ถ้าต้องการให้เศรษฐกิจขยายตัว ใช้นโยบายขาดดุล ค่าใช้จ่ายรัฐบาลขึ้นอยู่กับ 2 ประเภทที่กล่าวไม่ได้ขึ้นอยู่กับรายได้ประชาชาติ การเปลี่ยนแปลง G ถ้ารัฐบาลจำเป็นต้องใช้จ่ายมากขึ้น วางแผนหารายได้รับมาใช้จ่ายถ้ารัฐบาลใช้นโยบายหดตัว โดยลดการใช้จ่ายลง http://www.ssru.ac.th
ตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาลตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาล การเปลี่ยนแปลง G ถ้ารัฐบาลจำเป็นต้องใช้จ่ายมากขึ้น วางแผนหารายได้รับมาใช้จ่ายถ้ารัฐบาลใช้นโยบายหดตัว โดยลดการใช้จ่ายลง สินค้าออก (X) สินค้าออก เป็นคัวแปรไม่ขึ้นกับรายได้ประชาชาติของประเทศเราถ้ารัฐบาลส่งเสริมสินค้าออก เช่น ลดภาษี การส่งออกก็เพิ่มขึ้นถ้าราคาสินค้าออก ของเราสูงกว่าประเทศอื่น การส่งออกก็ลดลง http://www.ssru.ac.th
ตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาลตัวกำหนดความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาล สินค้าเข้า (M) การสั่งสินค้าเข้าขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประเภท ได้แก่รายได้ อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อ คุณภาพสินค้าเข้า การเปลี่ยนการนำเข้า Change คือการรายได้เปลี่ยน ตัวกำหนดอื่นคงที่ Shift คือ ตัวกำหนดอื่นเปลี่ยน รายได้คงที่ การส่งออกสุทธิ Net Export X – M > 0 เงินไหลเข้า X – M < 0 เงินไหลออก สรุป GDP = C + I + G + X -M http://www.ssru.ac.th