1 / 66

การตรวจสอบการโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ

การตรวจสอบการโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ. การรู้เท่าทันสื่อ / โฆษณา. ภญ . สิริลักษณ์ รื่นรวย กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี. ประชาชน(ผู้รับสาร)ในฐานะผู้บริโภค.

keefe-brady
Download Presentation

การตรวจสอบการโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจสอบการโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ การรู้เท่าทันสื่อ / โฆษณา ภญ.สิริลักษณ์ รื่นรวย กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี

  2. ประชาชน(ผู้รับสาร)ในฐานะผู้บริโภคประชาชน(ผู้รับสาร)ในฐานะผู้บริโภค • งานโฆษณานับได้ว่ามีบทบาทอย่างสูงต่อสภาพสังคมในปัจจุบัน ตั้งแต่ตื่นนอนจนกระทั่งเวลาหลับ ประชาชนในฐานะของผู้บริโภค จะพบกับการโฆษณางานอยู่รอบๆตัวแทบทุกรูปแบบ • สื่อมวลชนแทบทุกแขนงกลายเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดข้อความ เสียง ภาพ เพื่อให้การโฆษณาของภาคธุรกิจบรรลุเป้าหมาย

  3. พี่ปั่น (นามสมมุติจากลพบุรี)

  4. ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้แก่ - อาหาร - ยา - เครื่องสำอาง - วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน - เครื่องมือแพทย์ - วัตถุเสพติด - ตรวจสอบการโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ?

  5. การควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพการควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ

  6. โฆษณาที่ได้รับอนุญาต  แสดงเลขที่โฆษณา

  7. การควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพการควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ

  8. การเฝ้าระวังโฆษณายา

  9. คำจำกัดความ “ยา” • ก่อนซื้อยาต้องดู “เลขทะเบียนยา” • ไม่มียาใดในโรคที่ปลอดภัย 100 % • ไม่มียาใดในโลกที่รักษาได้ทุกโรค

  10. การโฆษณายา

  11. การโฆษณายา แลกเสื้อยืด ส่งกล่องยาชิงมือถือ

  12. ตัวอย่างถ้อยคำห้ามโฆษณาตัวอย่างถ้อยคำห้ามโฆษณา • ยอด หายขาด ปลอดภัยที่สุด โอกาสดีๆ อย่างนี้ไม่มีบ่อยนัก พิเศษ หายห่วง เหมาะสมที่สุด ไม่ทำให้เกิดอากาแพ้ วิเศษ เด็ดขาด ฉับพลัน ไม่ต้องทนรำคาญ ดีเลิศ พิชิตโรคร้าย ทันใจ ไม่มีผลข้างเคียง ศักดิ์สิทธิ์ หมดกังวล เป็นหนึ่งมาตลอด

  13. ตัวอย่างถ้อยคำห้ามโฆษณาโอ้อวดเกินจริงตัวอย่างถ้อยคำห้ามโฆษณาโอ้อวดเกินจริง • “....สุขภาพดีแข็งแรงและแข็งแกร่งด้วยสมุนไพรจีนโบราณต้องปู่เซิน เป็นยาบำรุงร่างกาย มีสรรพคุณในการฟื้นฟูตับไต รักษาเบาหวาน ความดัน โรคเกาต์ รูมาตอยด์ ต่อมลูกหมากอักเสบ บำรุงระบบเลือด กระตุ้นการสร้างฮอร์โมนเพศชาย เสริมสมรรถภาพทางเพศ” เป็นต้น รวมทั้งทางสื่อเคเบิลทีวีมีการนำตัวอย่างบุคคลที่ป่วยเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคภูมิแพ้ เลือดลมไม่ดี ไมเกรน ฯลฯ โดยอ้างว่าหลังจากบริโภคยาดังกล่าวทำให้อาการของโรค หรือโรคที่เป็นอยู่ดีขึ้น

  14. กรณีศึกษา ยากาโน่ ป๊อก • โฆษณาผลิตภัณฑ์ยากินแก้ปวด (ไพร็อกซิแคม: piroxicam) อีกด้วย โฆษณามีทั้งภาษาไทยและภาษาพม่า (นอกจากนี้ยังมีการลดแลกแจกแถมชิงรางวัลเป็นระยะตามรายการวิทยุ) • การโฆษณาขายยาแสดงสรรพคุณยาอันตรายโดยตรงต่อประชาชน (ไม่ได้กระทำโดยตรงต่อผู้ประกอบโรคศิลปะ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์) เป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 มาตรา 88(6) ต้องระวางโทษตามมาตรา 124 คือ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท • หากมีการโฆษณาขายยาโดยการแจกของแถมหรือออกสลากรางวัล เป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 มาตรา 90 ต้องระวางโทษตามมาตรา 124 เช่นกัน

  15. ตัวอย่างผู้ได้รับผลกระทบจากการโฆษณายาตัวอย่างผู้ได้รับผลกระทบจากการโฆษณายา

  16. การเฝ้าระวังโฆษณาเครื่องสำอางการเฝ้าระวังโฆษณาเครื่องสำอาง

  17. คำจำกัดความ “เครื่องสำอาง” ก่อนซื้อเครื่องสำอางต้องดู “เลขที่ใบรับแจ้ง”

  18. การโฆษณาเครื่องสำอาง

  19. การโฆษณาเครื่องสำอาง

  20. การโฆษณาเครื่องสำอาง

  21. การวิเคราะห์ • - จากข้อมูลที่มีอยู่พบว่าผลิตภัณฑ์ครีมนวดลองกานอยด์ได้จดแจ้งเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ตาม พ.ร.บ.เครื่องสำอาง พ.ศ.2535 โดยมีเลขที่ใบรับแจ้ง คือ 10-1-5400090 และ 10-1-5506930 ดังข้อมูลที่ปรากฏในโฆษณาจากหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจวันที่ 10 กรกฎาคม 2555 หน้า 22 ไม่ได้จดทะเบียนเป็นผลิตภัณฑ์ยา ตาม พ.ร.บ.ยา พ.ศ.2510 • - เมื่อจดแจ้งเป็นเครื่องสำอาง ไม่ต้องขออนุญาตก่อนการโฆษณา แต่ไม่มีสิทธิโฆษณาผลิตภัณฑ์ว่าสามารถป้องกัน บำบัด บรรเทา หรือรักษาโรคได้ (โฆษณาในลักษณะผลิตภัณฑ์ที่เป็นยา) เนื่องจากไม่เข้าข่ายนิยามเครื่องสำอาง ตามพ.ร.บ.เครื่องสำอาง พ.ศ.2535 การโฆษณาว่าสามารถป้องกันและบรรเทาภาวะเสื่อมสลายของกล้ามเนื้อคอลลาเจน อิลาสติน และเซลล์กระดูกอ่อน เป็นการโฆษณาในลักษณะที่ผลิตภัณฑ์ที่เป็นยา จึงไม่สามารถกระทำได้

  22. การเฝ้าระวังโฆษณาอาหารการเฝ้าระวังโฆษณาอาหาร

  23. คำจำกัดความ “อาหาร” • ก่อนเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต้องดู “เคร่องหมาย อย.และเลข 13 หลัก) • ไม่มีอาหารใดในโรคที่ใช้รักษาโรคโดยตรง

  24. การโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารการโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

  25. ข้อความที่ห้ามโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารข้อความที่ห้ามโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

  26. ถ้อยคำห้ามโฆษณาอาหาร

  27. ตัวอย่างโฆษณาอาหารโอ้อวดเกินจริงตัวอย่างโฆษณาอาหารโอ้อวดเกินจริง • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร "อินทรา" ว่ามีการโฆษณาโอ้อวดสรรพคุณเกินจริงว่า สามารถรักษาโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดัน โรคหัวใจ โรคเก๊าต์ ทางสถานีวิทยุชุมชนจึงดำเนินคดีในข้อหา 1.โฆษณาสรรพคุณอาหารโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท และหากพบการโฆษณาสรรพคุณอาหารโอ้อวดเกินจริงหรือหลอกลวงให้เกิดความหลงเชื่อโดยไม่สมควร มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 2.นำเข้าอาหารเพื่อจำหน่ายที่มีการแสดงฉลากไม่ถูกต้อง มีโทษปรับไม่เกิน 30,000 บาท

  28. ตัวอย่างผู้ได้รับผลกระทบจากการโฆษณาอาหารตัวอย่างผู้ได้รับผลกระทบจากการโฆษณาอาหาร

  29. กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์บริษัท นูทริฟาย จำกัด (ผลิตภัณฑ์บล็อกแป้ง) • แม้ว่าผลิตภัณฑ์บริษัทนี้ถูกปรับในเรื่องการโฆษณาอาหารโดยไม่ได้รับอนุญาต อย่างไรก็ตามผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ห้ามแสดงข้อความ สามารถบล็อกแป้ง ไขมัน และแคลอรี่ในมื้ออาหารนั้น ๆ ได้ 50% …โปรแกรมสำหรับเร่งการเผาผลาญ (Bern) ช่วยเร่งระบบเผาผลาญ • ผลิตภัณฑ์เอเจล (AGEL) ถูกปรับในเรื่องการโฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา • - เอเจลเอ็กซ์โซ: ระบบภูมิคุ้มกัน ต้านอนุมูลอิสระ ชะลอความชรา • - เอเจลสลิมฟิต: ลดน้ำหนัก เผาผลาญไขมัน • - เอเจลอูมิ: ไหลเวียนโลหิต บำรุงสุขภาพ • - เอเจล มิน: กระดูก ฟัน ข้อต่อ เป็นปกติ • - เอเจล โปร: เสริมสร้างกล้ามเนื้อ เนื่อเยี่อ • - เอเจลเฟร็ก: ข้อต่อแข็งแรง • - เอเจล ฮาร์ท: โรคหัวใจ ไขมัน คอเลสเตอรอล • - เอเจล แคล: กระดูกแข็งแรง

  30. การเฝ้าระวังโฆษณาเครื่องมือแพทย์การเฝ้าระวังโฆษณาเครื่องมือแพทย์

  31. ตัวอย่างโฆษณาเครื่องมือแพทย์ผิดกฎหมาย (โฆษณาเกินจริง) • โฆษณาเครื่องมือแพทย์ที่ใช้ในสถานเสริมความงาม ทางสื่อหนังสือพิมพ์ “ปฏิวัติความงามอีกครั้ง ยกกระชับผิวในระดับลึกกว่า โดยไม่ต้องผ่าตัด นวัตกรรมใหม่ ล่าสุด ดึงหน้า เห็นภาพ เห็นผลโดยไม่มีรอยเย็บ ผ่านการรับรองจาก US FDA” • โฆษณาผลิตภัณฑ์เจลหล่อลื่น ทางสื่อหนังสือพิมพ์ “เห็นผลทันใจ คุณภาพแน่จริง ถ้าปัญหาคุณคือเวลาที่ไม่ยาวนานเพียงพอในการ ประกอบกิจกรรม เสร็จเร็วเกินไป เราพร้อมช่วยเหลือคุณ เจลเพื่อเพิ่มเวลาให้ยาวนาน ทนขึ้น 2 เท่าจาก เดิม ไม่ก่อให้เกิดอาการอ่อนตัวหรือผลข้างเคียง...”

  32. ตัวอย่างโฆษณาเครื่องมือแพทย์ผิดกฎหมาย (โฆษณาเกินจริง) • โฆษณาอุปกรณ์บำบัดด้วยกระแสไฟฟ้าสถิต - “เครื่องบำบัดโรคด้วยไฟฟ้าสถิตย์ที่มีความต่างศักย์สูง...ทดลองใช้ฟรี อาการที่รักษา ได้ดี : ปวดศีรษะ ท้องผูก นอนไม่หลับ ปวดหลัง ปวดไหล่ ใช้เวลาเพียงวันละ 20 นาที รับรองโดยกระทรวง สาธารณสุขประเทศญี่ปุ่น ประเทศจีน ประเทศไต้หวัน...” - “นวัตกรรมใหม่ล่าสุดจากญี่ปุ่น...ช่วยบำบัดผ่อนคลายสุขภาพ กระตุ้นเซลล์ประสาท และช่วยปรับสมดุลของเลือดให้ทำงานดีขึ้น เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย เช่น หัวเข่า ข้อเท้า ไขข้อกระดูกต่าง ๆ ตามร่างกาย ไฟฟ้าที่เข้าไปในร่างกายจะช่วยกระตุ้นส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่ เสื่อมลงให้กลับสู่สภาพเดิม โดยไม่มีผลต่อสุขภาพร่างกาย”

  33. ตัวอย่างโฆษณาเครื่องมือแพทย์ผิดกฎหมาย (โฆษณาเกินจริง) • โฆษณาเตียงนวดอินฟาเรด - “กระดูกสันหลังคือรากของร่างกาย ต้นเหตุของโรคมาจากกระดูกสันหลัง.....นวัตกรรม การแพทย์ที่ผสมผสานระหว่างจีน เกาหลี ญี่ปุ่น โดยได้พื้นฐานมาจากแพทย์จีนสมัยโบราณ เหมาะสำหรับใช้ กับโรคต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ความดันสูง เบาหวาน ระบบประสาทและกระดูกเชิงกราน อัมพาต ลมบ้าหมู โรคเก๊าต์ รูมาตอยด์ กระดูกงอก จัดแนวกระดูกสันหลัง เส้นเลือดตีบ คลอเรสเตอรอลสูง โรคหัวใจ โรคตับ มะเร็งลำไส้ ระบบย่อยอาหารขัดข้อง โรคไต โรคปอด มะเร็งต่าง ๆ......ฯลฯ เมื่อใช้แล้วจะได้ประสิทธิผล อย่างดีเยี่ยม”

  34. ตัวอย่างผู้ได้รับผลกระทบจากการโฆษณาเครื่องมือแพทย์ตัวอย่างผู้ได้รับผลกระทบจากการโฆษณาเครื่องมือแพทย์

  35. เครื่องนวดไฟฟ้าสถิต

  36. นวดไฟฟ้าสยอง ชอร์ต-ย่างสดเจ็บสาหัส โวยบริษัท ไม่มาดูแล • สยองเครื่องนวดไฟฟ้าเกิดชอร์ตไฟลุกพรึบเผาเฒ่าป่วยอัมพฤกษ์ ทั้งขา-แขนสุดสยอง ลูกได้ยินเสียงร้องออกมาดูแทบช็อกพาส่งร.พ. อาการบาดเจ็บสาหัส ลูกสาวโวยบริษัทเจ้าของเครื่อง ไม่มาเหลียวแลทั้งๆ ที่ยังอยู่ในระยะประกัน และตอนแรกบอกจะช่วยเหลือเต็มที่ แต่ผ่านมานับเดือนกลับทำเฉย เผยเป็นเครื่องนวดไฟฟ้าสถิต มาเปิดสาขาที่ขอนแก่น อวดสรรพคุณรักษาอาการอัมพฤกษ์-อัมพาต ตัดสินใจควักเงินเฉียดแสนซื้อมาให้พ่อใช้ แต่นอกจากไม่ดีขึ้นแล้วยังมาเกิดเหตุร้ายขึ้นอีก

  37. การเฝ้าระวังโฆษณาวัตถุอันตรายการเฝ้าระวังโฆษณาวัตถุอันตราย

  38. คำจำกัดความ “วัตถุอันตราย” • วัตถุอันตราย คือ เคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม

  39. การโฆษณาวัตถุอันตราย

More Related