1 / 43

ยุทธศาสตร์สำคัญ ในการบริหารของ RID-CEO

ยุทธศาสตร์สำคัญ ในการบริหารของ RID-CEO. นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาการชลประทาน. บทบาทของ CEO ต่อการเปลี่ยนแปลง. CEO ที่ประสบความสำเร็จ อาจเต็มไปด้วยสิ่งที่ขัดแย้ง. CEO ไม่มีสูตรสำเร็จ ในการทำงาน. มุมมองที่สำคัญในการสร้างสมดุล CEO. สัจนิยมแบบวิสัยทัศน์.

keefer
Download Presentation

ยุทธศาสตร์สำคัญ ในการบริหารของ RID-CEO

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์สำคัญ ในการบริหารของ RID-CEO นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาการชลประทาน

  2. บทบาทของ CEO ต่อการเปลี่ยนแปลง CEO ที่ประสบความสำเร็จ อาจเต็มไปด้วยสิ่งที่ขัดแย้ง CEO ไม่มีสูตรสำเร็จในการทำงาน

  3. มุมมองที่สำคัญในการสร้างสมดุล CEO สัจนิยมแบบวิสัยทัศน์ เรียนรู้ให้อยู่รอด ยืดหยุ่นแต่เข้มแข็ง รุดหน้าอย่างมั่นคง ควบคุมด้วยการกระจายอำนาจ

  4. การสร้างคุณค่า 5 ประการ บุคลากรเป็นจุดแข็งของเรา ลูกค้ามีความสำคัญอันดับแรก พันธมิตรคืออนาคต นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ ความสามารถเชิงการแข่งขัน ผลประกอบการคือหนทางสู่ชัยชนะของเรา

  5. การบริหารแนวใหม่โดยยึดหลัก Cluster (สุริยะจักรวาล) ระดับ ระดับกระทรวง (Cluster) / รองนายก ระดับ ระดับกรม / ภูมิภาค ระดับจังหวัด / โครงการ ( CEO ) ระยะเวลา ระยะเวลา

  6. Agenda ประเด็นของรัฐบาล ภารกิจกระทรวง / กรม ภารกิจระดับภูมิภาคอนุภูมิภาคจังหวัด ท้าทายกลุ่มที่ 3 กลุ่ม 1 / กลุ่ม 2 Function Area

  7. จุดถอดรหัส ต้องมีผู้รับผิดชอบ (เจ้าภาพ) นายกรัฐมนตรี / รองนายก ฯ CEO จังหวัด / อนุภูมิภาค ฯลฯ Agenda Function Area

  8. กระทรวง กรม ฯ ภูมิภาค

  9. จุดถอดรหัส ต้องมีผู้รับผิดชอบ (เจ้าภาพ) รมต. / รมช. ปลัดกระทรวง ฯ / รองปลัด ฯ กระทรวง ฯ กรม ฯ ภูมิภาค

  10. กรม ฯ สำนัก ฯ / กอง สชป. 1 - 16

  11. จุดถอดรหัส ต้องมีผู้รับผิดชอบ (เจ้าภาพ) อธิบดี / รองอธิบดี กรม ฯ สำนัก ฯ กอง สชป. 1 - 16

  12. จังหวัด ส่วนราชการ ในจังหวัด อำเภอ / ตำบล

  13. จุดถอดรหัส ต้องมีผู้รับผิดชอบ (เจ้าภาพ) ผู้ว่า CEO จังหวัด ส่วน ราชการ ในจังหวัด อำเภอ / ตำบล

  14. ชคป. ชคบ. ชคน. ชคส. ผู้รับบริการ ประชาชน เกษตรกร

  15. จุดถอดรหัส ต้องมีผู้รับผิดชอบ (เจ้าภาพ) ผส.ชป. / ผวศ.ชป./ผบร.ชป./ ฯลฯ ชคป. ชคบ. ชคน. ชคส. ผู้รับบริการ ประชาชน เกษตรกร

  16. หน่วยงานที่มีสมรรถนะภายในต่ำ สามเหลี่ยมใหญ่มากเท่าไรก็มีสมรรถนะภายในต่ำมากขึ้น D (ระบบการตัดสินใจ) D I (ระบบข้อมูล) C (ระบบการติดต่อสื่อสาร) DICS C I หน่วยงานที่มีสมรรถนะภายในสูง ลักษณะของ D, I, C จะเข้ามาใกล้กันที่สุด จนสามารถทับกันได้เป็นจุดเดียวกัน หรือมีลักษณะเป็นวงกลม

  17. การบริหารแบบบูรณาการผลต่อความสำเร็จ / หรือความล้มเหลว ของโครงการพัฒนาของรัฐ ความสำเร็จของ โครงการพัฒนาของรัฐ มิติที่ 1 มิติที่ 2 มิติที่ 3 ประสิทธิภาพในการวางแผนและการควบคุม ภาวะผู้นำและความร่วมมือ สมรรถนะขององค์การ การเมืองและการบริหารสภาพแวดล้อมภายนอก

  18. ผลรวมของโครงการพัฒนาทั้งหมดต้องก่อให้เกิดผลของการพัฒนาประเทศที่พึงปรารถนาผลรวมของโครงการพัฒนาทั้งหมดต้องก่อให้เกิดผลของการพัฒนาประเทศที่พึงปรารถนา มิติที่ 1 ผลสุดยอด ผลผลิต ผลลัพธ์ หรือผลลัพธ์ สุดท้าย มิติที่ 2 ผลตามมิติที่หนึ่งไม่สร้างปัญหาต่อโครงการอื่นๆ มิติที่ 3 ผลของโครงการทั้งหมดเมื่อรวมแล้ว ก่อให้เกิดผลการพัฒนาประเทศ ที่พึงปราถนา

  19. ถ่ายโอนกิจกรรมสู่ท้องถิ่น“CEO”ถ่ายโอนกิจกรรมสู่ท้องถิ่น“CEO” กิจกรรมที่กรมดำเนินการในปัจจุบัน อนาคต ส่วนกลาง (Consultant) 5 ปี 10 ปี 15 ปี ช่วงระยะเวลาการปรับโครงสร้างที่ควรเป็น 100 คณะทำงาน 1 คณะทำงาน 2 50 ก.พ.ร. 1 ท.น. 2 ก.พ.ร. 2 กรมชลฯ 1 กรมในอนาคตจะบริหารในเชิงธุรกิจมากขึ้น 0 ส.ว. ท.น.1 5 ปี (พ.ศ.2548) 10 ปี (พ.ศ.2553) 15 ปี (พ.ศ.2558) 20 ปี (พ.ศ.2563) 26 ก.พ. 2544แถลงนโยบายต่อรัฐสภา อ้างอิง

  20. สร้างแบรนด์ ( RID )ด้วยศรัทธา • สภาพแวดล้อมที่แข่งขันสูง • จูงใจผู้รับบริการให้เห็นภาพลักษณ์ในเชิงพาณิชย์

  21. จบการบรรยาย

  22. ส.ว. ส.ว.ผลักดัน ตั้งกระทรวงทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรน้ำ สำนักงานรัฐมนตรี กรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทานและ พัฒนาแหล่งน้ำ กรมฟื้นฟูทรัพยากรน้ำ และแหล่งน้ำ สำนักงานปลัดกระทรวง กรมป้องกันและ บรรเทาอุทกภัย สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรน้ำ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล รัฐวิสาหกิจ : - การประปาส่วนภูมิภาค - องค์การจัดการน้ำเสีย ฯลฯ องค์กรมหาชน : - สถาบันพัฒนาการชลประทาน แก้ไขปัญหาอุทกภัย จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำ อนุรักษ์ฟื้นฟูต้นน้ำลำธาร แก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำ ภารกิจ กลับ

  23. คณะทำงาน 1 โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงน้ำ กระทรวงน้ำ ( Ministry of Water Works , MOWW ) ศูนย์แก้ไขวิกฤตน้ำ สำนักงานรัฐมนตรี กลุ่ม อำนวยการ กลุ่มพัฒนาและ บริหารน้ำ กลุ่มมาตรฐาน และวิชาการน้ำ - สำนักงานปลัดกระทรวง • สำนักงานนโยบายและแผน • สำนักงานความร่วมมือ ลุ่มน้ำระหว่างประเทศ • กรมวิชาการและมาตรฐานน้ำ - สำนักงานกองทุนและกฎหมายน้ำ - กรมพัฒนาและบริหารน้ำผิวดิน • กรมพัฒนาและบริหารน้ำใต้ดิน • กรมควบคุมและส่งเสริมคุณภาพน้ำ • กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 1 - 5 • รัฐวิสาหกิจ : - การประปานครหลวง - การประปาส่วนภูมิภาค • องค์การจัดการน้ำเสีย • องค์กรมหาชน / หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ( Service Delivery Unit : SDU) : • สถาบันพัฒนาการชลประทาน รูปแบบที่ 1 ตามที่คณะทำงานเห็นชอบ ในการประชุมครั้งที่ 1 กลับ

  24. ท.น. 2 โครงสร้างของกระทรวงน้ำ กระทรวงน้ำ ( Ministry of Water Work – MOWW ) สำนักงานรัฐมนตรี ( สร. ) กลุ่มภารกิจอำนวยการ กลุ่มภารกิจวิชาการ กลุ่มภารกิจบริหารจัดการ • สำนักงานปลัดกระทรวง • สำนักนโยบายและ • แผนทรัพยากรน้ำ • กรมอุตุนิยมวิทยาและอุทกวิทยา • กรมวิชาการน้ำบาดาล • สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรน้ำ • กรมจัดการทรัพยากรน้ำที่ 1 ( เจ้าพระยา ) • กรมจัดการทรัพยากรน้ำที่ 2 ( โขง ชี มูล ) • กรมจัดการทรัพยากรน้ำที่ 3 ( ภาคตะวันออก ) • กรมจัดการทรัพยากรน้ำที่ 4 ( ภาคตะวันตก ) • กรมจัดการทรัพยากรน้ำที่ 5 ( ลุ่มน้ำภาคใต้ ) รัฐวิสาหกิจ : การประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค องค์การจัดการน้ำเสีย องค์กรมหาชน : สถาบันพัฒนาการทรัพยากรน้ำ แนวทางของกรมทรัพยากรน้ำ …. กลับ

  25. รัฐมนตรี ก.พ.ร. 2 กลับ แนวทางของ ก.พ.ร. 2 Strategic Apex ปลัดกระทรวง Techno Structure 1.กรมควบคุมและส่งเสริม คุณภาพน้ำ 2. กรมวิชาการและมาตรฐานน้ำ 3. กรมพัฒนาและบริหารน้ำใต้ดิน 4. กรมพัฒนาและบริหารน้ำผิวดิน 5. สำนักนโยบายและแผนน้ำ ทำหน้าที่วิเคราะห์ กำหนดมาตรฐาน การทำงานของหน่วยงานต่างๆ ในสังกัด กระทรวง ฯ รวมทั้งให้คำปรึกษาใน การวางแผนงานและควบคุมการ ทำงานของหน่วยงานใน ระดับ Operating Core Support Staff 1. สำนักงานกองทุนและ กฎหมายน้ำ 2. สำนักงานวิเทศสัมพันธ์ 3. สำนักการคลังและบัญชี 4. สำนักยานพาหนะและเครื่องจักรกล ทำหน้าที่ให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานแก่ หน่วยงานในระดับ Operating Coreเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ของ กระทรวง รองปลัด ฯ 1 รองปลัด ฯ 2 รองปลัด ฯ 3 • Middle Line • สำนักงานรัฐมนตรี • สำนักงานปลัดกระทรวง Operating Core ทำหน้าที่ปฏิบัติงานตามสายงานหลักเพื่อตอบสนองวิสัยทัศน์ และพันธกิจของกระทรวง กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 1 กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 2 กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 3 กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 4 กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 5

  26. ก.พ.ร. 1 คณะกรรมการทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทบวงน้ำ หน่วยอำนวยการ หน่วยงานมาตรฐานและวิชาการทรัพยากรน้ำ หน่วยงานบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 1-4 • รับผิดชอบปฏิบัติตามภารกิจในการบริหารจัดการ การอนุรักษ์ฟื้นฟู และการใช้ทรัพยากรน้ำ (น้ำบนดิน น้ำใต้ดิน และการชลประทาน ในพื้นที่ 4 โซน (25 ลุ่มน้ำ) • อำนวยการ • บริการใช้ทรัพยากรพื้นฐาน (คน เงิน วัสดุ)รวมกัน • กำหนดควบคุมหลักเกณฑ์มาตรฐานวิชาการ • จัดทำนโยบาย การวางแผน และการติดตามประเมินผล • การวิจัยพัฒนา • การควบคุมคุณภาพ • งานที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ • งานบริการ(เขตประเทศ) • รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน • การประปานครหลวง • การประปาภูมิภาค • องค์การจัดการน้ำเสีย (P.O.) กลับ

  27. กรมชลฯ 1 โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงพัฒนาและบริหารจัดการน้ำ กระทรวงพัฒนาและบริหารจัดการน้ำ ศูนย์ปฏิบัติการและสั่งการแก้ปัญหาน้ำ (น้ำท่วม น้ำแล้ง น้ำเสีย) สำนักงานรัฐมนตรี กลุ่มส่งเสริม พัฒนาน้ำ กลุ่ม อำนวยการ กลุ่มพัฒนาและ บริหารน้ำ กลุ่มควบคุมและกำหนด มาตรฐานน้ำ - สำนักงานส่งเสริมคุณภาพน้ำผิวดิน - สำนักงานส่งเสริมคุณภาพน้ำใต้ดิน - สำนักงานปลัดกระทรวง • สำนักนโยบาย • และแผน - กรมพัฒนาและบริหารน้ำผิวดิน - กรมพัฒนาและบริหารน้ำใต้ดิน - สำนักงานพัฒนาและบริหารน้ำในระดับลุ่มน้ำ (1-25 ลุ่มน้ำ) - สำนักงานวิชาการทรัพยากรน้ำ - สำนักงานควบคุมมลพิษทางน้ำ - สำนักงานมาตรฐานทรัพยากรน้ำ รัฐวิสาหกิจ/องค์กรมหาชน : - การประปานครหลวง - การประปาส่วนภูมิภาค - องค์การจัดการน้ำเสีย กลับ

  28. สรุปข้อเสนอการปฏิรูปการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินสรุปข้อเสนอการปฏิรูปการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน การจัดความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาค-ส่วนท้องถิ่น • ภายใน 5 ปี • คงไว้ - ส่วนกลาง • - ส่วนภูมิภาค • - ส่วนท้องถิ่น • แต่ถ่ายโอนงาน งบประมาณ บุคลากร • จากส่วนกลางไปส่วนภูมิภาค • ภายใน 10 ปี • คงไว้ซึ่งราชการส่วนภูมิภาคแต่ให้ • ภูมิภาคมีแค่ระดับจังหวัดเท่านั้น • แปรสภาพอำเภอ-ตำบล-หมู่บ้านให้ • เป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นใน • รูปแบบ เทศบาล และ อบต. ทั้งหมด • ภายใน 2563 • ให้มีเฉพาะการบริหารราชการ • ส่วนกลางและท้องถิ่นเท่านั้น • ภูมิภาคเป็นท้องถิ่นทั้งหมด • (ยกเลิกราชการบริหารส่วนภูมิภาค) • หน้าที่ส่วนกลาง • วางแผนกลยุทธ์ • บริหารเศรษฐกิจในภูมิภาค • สนับสนุนด้านบุคลากร เทคโนโลยี • กำกับและประเมินผล • ดำเนินกิจกรรมประเภท Pool down • service ระดับชาติ ส่วนกลาง ส่วนกลาง สำนักงานรัฐบาล หน่วยงานอิสระ ในกำกับ ส่วนภูมิภาค จังหวัดในฐานะ ท้องถิ่น จังหวัด ส่วนท้องถิ่น หน่วยการปกครองท้องถิ่น ตามเขตพื้นที่ต่าง ๆ ในจังหวัด พื้นที่เมือง พื้นที่ชนบท เทศบาล อบต. เทศบาล อบต. ชุมชน ชุมชน หมู่บ้าน หมู่บ้าน ที่มา: เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง “การปฏิรูปการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน” รศ.ดร. ศุภชัย ยาวะประภาษ (เมษายน 2544) สำนักงาน ก.พ.. กลับ

  29. ท.น. 1 โครงสร้างของกระทรวงน้ำ กระทรวงน้ำ ( Ministry of Water Work – MOWW ) สำนักงานรัฐมนตรี ( สร. ) ศูนย์ป้องกันและแก้ไขวิกฤติน้ำ กลุ่มภารกิจด้านอำนวยการและแผนงาน กลุ่มภารกิจด้านบริหารข้อมูลและมาตรการน้ำ กลุ่มภารกิจด้านปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงน้ำ( สป. ) สำนักนโยบายและแผน ( สนผ. ) คณะกรรมการลุ่มน้ำโขง ( ประเทศไทย ) สขท. กรมอุตุนิยมวิทยา ( อต. ) กรมอุทกวิทยา ( อท. ) สำนักงานมาตรฐานน้ำและ ส่งเสริมการใช้น้ำ ( สมส. ) องค์การมหาชน สถาบันพัฒนาการชลประทาน ( สพชป.) กรมชลประทาน ( ชป. ) กรมพัฒนาและบริหารน้ำ ( พน. ) กรมพัฒนาและบริหารน้ำบาดาล ( พบ. ) รัฐวิสาหกิจ การประปานครหลวง ( กปน. ) การประปาส่วนภูมิภาค ( กปภ. ) แนวทางที่กรมทรัพยากรน้ำ เสนอ …. กลับ

  30. กระทรวงน้ำ ( Ministry of Water Affairs ) • องค์กรมหาชน • องค์การจัดการน้ำเสีย . • องค์การน้ำบาดาล* • สถาบันพัฒนาการชลประทาน • รัฐวิสาหกิจ • การประปานครหลวง • การประปาส่วนภูมิภาค Strategic Apex ปลัดกระทรวง Support Staff 1. สำนักงานกองทุนและ กฎหมายน้ำ 2. สำนักงานความร่วมมือด้านน้ำ ระหว่างประเทศ 3. สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. สำนักยานพาหนะและเครื่องจักรกล 5. สำนักการคลังและบัญชี ทำหน้าที่ให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานแก่ หน่วยงานในระดับ Operating Core เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์ของกระทรวง Techno Structure 1. สำนักงานนโยบายและ แผนน้ำ 2. กรมชลประทาน 3. กรมน้ำบาดาล 4. กรมน้ำสะอาดและคุณภาพน้ำ ทำหน้าที่วิเคราะห์ กำหนดมาตรฐาน การทำงานของหน่วยงานต่างๆ ในสังกัด กระทรวง ฯ รวมทั้งให้คำปรึกษาใน การวางแผนงานและควบคุมการ ทำงานของหน่วยงานใน ระดับ Operating Core รองปลัด ฯ 1 รองปลัด ฯ 2 รองปลัด ฯ 3 • Middle Line • สำนักงานรัฐมนตรี • สำนักงานปลัดกระทรวง ศูนย์ปฏิบัติการและสั่งการแก้ปัญหาน้ำ (น้ำท่วม น้ำแล้ง น้ำเสีย น้ำบาดาล) Operating Core ทำหน้าที่ปฏิบัติงานตามสายงานหลักเพื่อตอบสนองวิสัยทัศน์ และพันธกิจของกระทรวง กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 1 กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 2 กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 3 กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 4 กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 5 วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2547

  31. 2/1 พื้นที่รับผิดชอบของกรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 1 - 5 1 2 4 3 5 หมายเหตุ 2 /1 มอบพื้นที่บริหารจัดการให้กับ กรม ฯ 1

  32. สำนักงานรัฐมนตรี มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารกลาง • ศูนย์ปฏิบัติการและสั่งการแก้ปัญหาน้ำ • ฯลฯ

  33. ตกลงในคณะทำงานเมื่อ 4 ก.พ.47 กรมทรัพยากรน้ำขอแก้ไขล่าสุด 6 ก.พ.47 สำนักงานปลัดกระทรวง มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารกลาง • ศูนย์สารสนเทศ • สำนักบริหารกลาง • สำนักตรวจราชการ • สำนักพัฒนาองค์กรและบุคลากร • ศูนย์ปฏิบัติการสารสนเทศกระทรวงน้ำ

  34. ตกลงในคณะทำงานเมื่อ 4 ก.พ.47 กรมทรัพยากรน้ำขอแก้ไขล่าสุด 6 ก.พ.47 สำนักงานนโยบายและแผนน้ำ มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารกลาง • สำนักนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ • สำนักตรวจสอบและประเมินผล • สำนักวิเคราะห์และบริหารงบประมาณ • สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ • สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน • สำนักบริหารกลาง • สำนักแผนยุทธศาสตร์ • สำนักตรวจสอบและประเมินผล • สำนักวิเคราะห์และบริหารงบประมาณ • สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ

  35. ตกลงในคณะทำงานเมื่อ 4 ก.พ.47 กรมทรัพยากรน้ำขอแก้ไขล่าสุด 6 ก.พ.47 กรมชลประทาน มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารกลาง • สำนักอุทกวิทยา • สำนักวิจัยและพัฒนา • สำนักแผนงานและโครงการ • สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา • สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม • สำนักอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำ • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ • สำนักบริหารกลาง • สำนักอุทกวิทยา • สำนักวิจัยและพัฒนา • สำนักประสานแผนงานและโครงการ • สำนักมาตรฐานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศชลประทาน • สนง.เลขานุการคณะกรรมการอุทกวิทยาแห่งชาติ

  36. ตกลงในคณะทำงานเมื่อ 4 ก.พ.47 กรมทรัพยากรน้ำขอแก้ไขล่าสุด 6 ก.พ.47 กรมน้ำบาดาล มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารงานกลาง • สำนักควบคุมกิจการน้ำบาดาล • สำนักสำรวจและแผนที่น้ำบาดาล • สำนักประเมินศักยภาพน้ำบาดาล • สำนักอนุรักษ์และฟื้นฟูน้ำบาดาล • กองวิศวกรรมน้ำบาดาล • กองแผนงาน • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศน้ำบาดาล • สนง.เลขานุการคณะกรรมการน้ำบาดาล • สำนักบริหารงานกลาง • สำนักควบคุมกิจการน้ำบาดาล • สำนักสำรวจและแผนที่น้ำบาดาล • สำนักประเมินศักยภาพน้ำบาดาล • สำนักอนุรักษ์และฟื้นฟูน้ำบาดาล • กองวิเคราะห์น้ำบาดาล • กองวิศวกรรมน้ำบาดาล • กองแผนงาน • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศน้ำบาดาล

  37. ตกลงในคณะทำงานเมื่อ 4 ก.พ.47 กรมทรัพยากรน้ำขอแก้ไขล่าสุด 6 ก.พ.47 กรมควบคุมและส่งเสริมคุณภาพน้ำ( กรมน้ำสะอาดและคุณภาพน้ำ ) มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารกลาง • สำนักประสานแผนงานและโครงการ • สำนักควบคุมสัมปทานและคุณภาพน้ำ • สำนักเทคโนโลยีและมาตรฐานน้ำ • สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศคุณภาพน้ำ • ศูนย์วิเคราะห์คุณภาพน้ำ • สนง.เลขานุการคณะกรรมการประปาแห่งชาติ • สำนักบริหารกลาง • สำนักส่งเสริมคุณภาพน้ำและการมีส่วนร่วม • สำนักตรวจสอบและควบคุมคุณภาพน้ำ • สำนักเทคโนโลยีการจัดการคุณภาพน้ำ

  38. ตกลงในคณะทำงานเมื่อ 4 ก.พ.47 กรมทรัพยากรน้ำขอแก้ไขล่าสุด 6 ก.พ.47 สำนักงานกองทุนและกฎหมายน้ำ มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารกลาง • สำนักกฎหมาย • สำนักจัดการกองทุนและผลประโยชน์ • สำนักจัดการกรรมสิทธิ์ที่ดิน • สำนักนิติกรรมและสัญญา • สำนักสอบสวนและคดี • สำนักบริหารกลาง • สำนักกฎหมาย • สำนักจัดการกองทุนและผลประโยชน์ • สำนักจัดการกรรมสิทธิ์ที่ดิน • สำนักนิติกรรมและสัญญา • สำนักสอบสวนและคดี

  39. ตกลงในคณะทำงานเมื่อ 4 ก.พ.47 กรมทรัพยากรน้ำขอแก้ไขล่าสุด 6 ก.พ.47 สำนักงานความร่วมมือด้านน้ำระหว่างประเทศ มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารกลาง • สำนักคณะกรรมการแม่น้ำโขงประเทศไทย • สำนักประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ • สำนักบริหารกลาง • สำนักคณะกรรมการแม่น้ำโขงประเทศไทย • สำนักประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ • ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างประเทศ

  40. ตกลงในคณะทำงานเมื่อ 4 ก.พ.47 กรมทรัพยากรน้ำขอแก้ไขล่าสุด 6 ก.พ.47 สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศน้ำ มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารกลาง • สำนักบริหารกลาง • สำนักพัฒนาระบบและเครือข่าย • สำนักระบบสารสนเทศการจัดการ • สำนักระบบภูมิสารสนเทศ • ศูนย์คอมพิวเตอร์และบริการ สารสนเทศ

  41. ตกลงในคณะทำงานเมื่อ 4 ก.พ.47 กรมทรัพยากรน้ำขอแก้ไขล่าสุด 6 ก.พ.47 สำนักเครื่องจักรกลและยานพาหนะ มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารกลาง • สำนักบริหารกลาง • สำนักทะเบียน • สำนักบำรุงรักษา • ศูนย์บริการเครื่องจักรกล

  42. ตกลงในคณะทำงานเมื่อ 4 ก.พ.47 กรมทรัพยากรน้ำขอแก้ไขล่าสุด 6 ก.พ.47 สำนักการคลังและบัญชี มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารกลาง • สำนักบริหารกลาง • สำนักการเงิน • สำนักบัญชี • สำนักบริหารสินทรัพย์

  43. ตกลงในคณะทำงานเมื่อ 4 ก.พ.47 กรมทรัพยากรน้ำขอแก้ไขล่าสุด 6 ก.พ.47 กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 1 – 5 มีส่วนราชการในสังกัด ดังนี้ • สำนักบริหารกลาง • สำนักวิศวกรรม • สำนักก่อสร้าง • สำนักส่งน้ำบำรุงรักษา • สำนักบริหารจัดการลุ่มน้ำ • สำนักบริหารจัดการน้ำบาดาล • สำนักคันคูน้ำและจัดรูปที่ดิน • สำนักอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำ • สำนักน้ำสะอาดและคุณภาพน้ำ • สำนักส่งเสริมและประสานมวลชน • ศูนย์เครื่องจักรกลและขนส่ง • สำนักบริหารกลาง • สำนักวิศวกรรม • สำนักก่อสร้าง • สำนักส่งน้ำบำรุงรักษา • สำนักบริหารจัดการลุ่มน้ำ • สำนักบริหารจัดการน้ำบาดาล • สำนักคันคูน้ำและจัดรูปที่ดิน • สำนักส่งเสริมและประสานมวลชน • ศูนย์เครื่องจักรกลและขนส่ง กลับ

More Related