1 / 118

สมบัติของคลื่น

สมบัติของคลื่น. ถาดคลื่น (Ripple tank). ส่วนประกอบที่สำคัญของถาดคลื่น ตัวถาดคลื่น ตัวกำเนิดคลื่น โคมไฟ. ถาดคลื่น (Ripple tank). ส่วนประกอบที่สำคัญของถาดคลื่น จุดกึ่งกลางของแถบมืดแทนตำแหน่งของท้องคลื่น จุดกึ่งกลางของแถบสว่างแทนตำแหน่งของสันคลื่น. หน้าคลื่น (Wave front).

Download Presentation

สมบัติของคลื่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สมบัติของคลื่น

  2. ถาดคลื่น(Ripple tank) • ส่วนประกอบที่สำคัญของถาดคลื่น • ตัวถาดคลื่น • ตัวกำเนิดคลื่น • โคมไฟ

  3. ถาดคลื่น(Ripple tank) • ส่วนประกอบที่สำคัญของถาดคลื่น • จุดกึ่งกลางของแถบมืดแทนตำแหน่งของท้องคลื่น • จุดกึ่งกลางของแถบสว่างแทนตำแหน่งของสันคลื่น

  4. หน้าคลื่น(Wave front) • แนวทางเดินของตำแหน่งบนคลื่นที่มีเฟสเท่ากัน • หน้าคลื่นตรง การทดลองเสมือนจริง

  5. หน้าคลื่น(Wave front) • แนวทางเดินของตำแหน่งบนคลื่นที่มีเฟสเท่ากัน • หน้าคลื่นวงกลม การทดลองเสมือนจริง

  6. หน้าคลื่น(Wave front) • ลักษณะของหน้าคลื่น • คลื่นหน้าตรงทิศทางคลื่นขนานกัน • คลื่นหน้าโค้งวงกลมทิศทางคลื่นเป็นแนวรัศมีของวงกลม • ทิศทางคลื่นจะตั้งฉากกับหน้าคลื่นเสมอ • หน้าคลื่นที่ติดกันจะห่างกันเท่ากับความยาวคลื่น( l )

  7. การซ้อนทับของคลื่น(Superposition of wave) • การซ้อนทับหรือการรวมกันของคลื่น • การรวมกันแบบเสริม(Constructive Superposition) • การกระจัดของคลื่นอยู่ในทิศเดียวกัน

  8. การซ้อนทับของคลื่น(Superposition of wave) • การซ้อนทับหรือการรวมกันของคลื่น • การรวมกันแบบเสริม(Constructive Superposition) • สันคลื่นเจอกับสันคลื่น การทดลองเสมือนจริง

  9. การซ้อนทับของคลื่น(Superposition of wave) • การซ้อนทับหรือการรวมกันของคลื่น • การรวมกันแบบเสริม(Constructive Superposition) • ท้องคลื่นเจอกับท้องคลื่น

  10. การซ้อนทับของคลื่น(Superposition of wave) • การซ้อนทับหรือการรวมกันของคลื่น • การรวมกันแบบหักล้าง(Destructive Superposition) • การกระจัดของคลื่นอยู่ในทิศทางตรงข้ามกัน

  11. การซ้อนทับของคลื่น(Superposition of wave) • การซ้อนทับหรือการรวมกันของคลื่น • การรวมกันแบบหักล้าง(Destructive Superposition) • การกระจัดของคลื่นอยู่ในทิศทางตรงข้ามกัน การทดลองเสมือนจริง

  12. สมบัติของคลื่น • การเคลื่อนที่แบบคลื่น ต้องมีสมบัติ 4 ประการ • การสะท้อน(Reflection) • การหักเห(Refraction) • การแทรกสอด(Interference) • การเลี้ยวเบน(Diffraction)

  13. การสะท้อนของคลื่น(Reflection of Wave) • การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือกเมื่อจุดสะท้อนเป็นจุดตรึงแน่น • เฟสเปลี่ยน 180 องศา(เฟสตรงข้ามกัน) • การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือกเมื่อจุดสะท้อนอิสระ • เฟสไม่เปลี่ยน (เฟสตรงกัน) การทดลองเสมือนจริง

  14. การสะท้อนของคลื่น • การสะท้อนของคลื่นผิวน้ำ • เฟสของคลื่นสะท้อนจะไม่เปลี่ยน การทดลองเสมือนจริง

  15. การสะท้อนของคลื่น • การสะท้อนของคลื่นผิวน้ำ • มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน(q1 = q2)

  16. การสะท้อนของคลื่น

  17. การสะท้อนของคลื่น • คลื่นวงกลมสะท้อนจากผิวสะท้อนเรียบตรง การทดลองเสมือนจริง

  18. การสะท้อนของคลื่น • หน้าคลื่นวงกลมอยู่ที่จุดโฟกัสสะท้อนจากผิวสะท้อนจากผิวพาราโบลา

  19. การสะท้อนของคลื่น • หน้าคลื่นเส้นตรงสะท้อนจากผิวสะท้อนพาราโบลา

  20. การหักเหของคลื่น(Refraction of Wave)

  21. การหักเหของคลื่น(Refraction of Wave) • คลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน • อัตราเร็ว ของคลื่นและความยาวคลื่น เปลี่ยนแปลงแต่ ความถี่ คงเดิม

  22. การหักเหของคลื่น(Refraction of Wave) • คลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน • ทิศทางของคลื่นตั้งฉากกับรอยต่อ การทดลองเสมือนจริง

  23. การหักเหของคลื่น(Refraction of Wave) • คลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน • ทิศทางของคลื่นไม่ตั้งฉากกับรอยต่อ การทดลองเสมือนจริง

  24. การหักเหของคลื่น(Refraction of Wave) • พิจารณาการหักเหของคลื่นน้ำที่รอยต่อของน้ำลึกกับน้ำตื้น “กฎของสเนล”

  25. การหักเหของคลื่น(Refraction of Wave) • ลักษณะการหักเหของคลื่น • จากบริเวณน้ำตื้นไปสู่น้ำลึก คลื่นเคลื่อนที่จากน้ำตื้น(v น้อย ,น้อย) สู่น้ำลึก (v มาก ,มาก) ทิศทางคลื่นหักเหจะเบนออกจากเส้นแนวฉาก

  26. พระเจ้า จ๊อด มันยอดมาก การหักเหของคลื่น(Refraction of Wave) • ลักษณะการหักเหของคลื่น • จากบริเวณน้ำลึกไปสู่น้ำตื้น คลื่นเคลื่อนที่จากน้ำลึก(v มาก ,มาก) สู่น้ำตื้น (v น้อย ,น้อย) ทิศทางคลื่นหักเหจะเบนเข้าหาเส้นแนวฉาก

  27. การสะท้อนกลับหมด “มุมวิกฤต” ( Critical Angle ; c ) การหักเหของคลื่น(Refraction of Wave) • มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมด • เมื่อคลื่นผิวน้ำเคลื่อนที่จากบริเวณ น้ำตื้นเข้าสู่บริเวณน้ำลึก • มุมตกกระทบที่ทำให้เกิดมุมหักเหมีค่าเท่ากับ 90 เรียกว่า มุมวิกฤต • มุมตกกระทบโตมากกว่ามุมวิกฤต จะเกิดการสะท้อนขึ้นที่รอยต่อของตัวกลางทั้งสอง เรียกปรากฏการณ์นี้ว่าการสะท้อนกลับหมด การทดลองเสมือนจริง

  28. คิก ๆ ตายแน่ ริ้วของการแทรกสอด(Interference pattern) การแทรกสอดของคลื่น(Interference of Wave) • แหล่งกำเนิดอาพันธ์(Coherent Source) • ความถี่เท่ากัน และเฟสตรงกัน การทดลองเสมือนจริง

  29. โอ้ย ; อะไรกันเนี่ย การแทรกสอดแบบเสริม(Constructive Interference) การแทรกสอดแบบหักล้าง(Destructive Interference) การแทรกสอดของคลื่น(Interference of Wave) • แหล่งกำเนิดอาพันธ์(Coherent Source)

  30. เส้นปฎิบัพ(Antinode line) การแทรกสอดแบบเสริม S1P - S2P = nג การแทรกสอดแบบหักล้าง S1Q-S2Q = [n-(1/2)] ג Path diff เส้นบัพ(Node line) การแทรกสอดของคลื่น(Interference of Wave) • แหล่งกำเนิดอาพันธ์(Coherent Source)

  31. โฮ ๆๆ การแทรกสอดของคลื่น(Interference of Wave) • แหล่งกำเนิดอาพันธ์(Coherent Source) • พิสูจน์การแทรกสอดแบบเสริม Path diff = 0 ג Path diff = 1 ג Path diff = 2 ג . . . Path diff = n ג ; n = 0 , 1 , 2 , 3 , …

  32. การแทรกสอดของคลื่น(Interference of Wave) • แหล่งกำเนิดอาพันธ์(Coherent Source) • พิสูจน์การแทรกสอดแบบหักล้าง Path diff = (1/2) ג Path diff = (3/2) ג Path diff = (5/2) ג . . . Path diff = [n-(1/2)]ג ; n = 1 , 2 , 3 , …

  33. การแทรกสอดของคลื่น(Interference of Wave) • แหล่งกำเนิดอาพันธ์(Coherent Source) • พิสูจน์การแทรกสอดแบบหักล้าง Path diff = (1/2) ג Path diff = (3/2) ג Path diff = (5/2) ג . . . Path diff = [n-(1/2)]ג ; n = 1 , 2 , 3 , …

  34. การแทรกสอดของคลื่น(Interference of Wave) • การแทรกสอดของคลื่นที่จุด P ซึ่งไกลมากจาก แหล่งกำเนิดคลื่น S1 ,S2 dsinӨ ถ้าจุด P เป็นจุดปฎิบัพ จะประมาณได้ว่า dsin Ө = nג; n = 0 , 1 , 2 , 3 , … ถ้าจุด P เป็นบัพ จะประมาณได้ว่า dsin Ө = [n-(1/2)]ג; n = 1 , 2 , 3 , …

  35. โฮะ ๆ ง่ายมั่ก ๆ การแทรกสอดของคลื่น(Interference of Wave) • เส้นปฎิบัพและเส้นบัพเมื่อเฟสตรงและเฟสตรงกันข้าม การทดลองเสมือนจริง

  36. ว้าว ๆ ๆ ๆ ๆ สรุปสูตรการแทรกสอด • เมื่อเฟสตรงกัน • เสริมกัน(ปฎิบัพ) • หักล้างกัน(บัพ)

  37. รักฟิสิกส์จังเลย สรุปสูตรการแทรกสอด • เมื่อเฟสตรงกันข้าม • เสริมกัน(ปฎิบัพ) • หักล้างกัน(บัพ)

  38. การเลี้ยวเบนของคลื่น(Diffraction of Wave) • การเลี้ยวเบนของคลื่น • ความยาวคลื่น ความถี่ และอัตราเร็วเท่าเดิม การทดลองเสมือนจริง การเลี้ยวเบนของคลื่นผ่านสิ่งกีดขวาง

  39. การเลี้ยวเบนของคลื่น(Diffraction of Wave) • การเลี้ยวเบนของคลื่น • ความยาวคลื่น ความถี่ และอัตราเร็วเท่าเดิม เมื่อคลื่นผ่านสิ่งกีดขวางหรือช่องเปิดแคบ ๆ จะเกิดการเลี้ยวเบนมากยิ่งขึ้น ถ้าช่องเปิดนี้มีความกว้างเท่ากับหรือน้อยกว่าความยาวคลื่น แล้วคลื่นจะแผ่ออกจากช่องเปิดนั้นโดยรอบ ช่องเปิดนี้เรียกว่า สลิต(เปรียบเสมือนแหล่งกำเนิดวงกลม) การเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำผ่านช่องแคบหรือสลิตเดี่ยว

  40. การเลี้ยวเบนของคลื่น(Diffraction of Wave) • หลักของฮอยเกนส์(Huygen’s principal) • ใช้อธิบายปรากฏการณ์เลี้ยวเบนของคลื่น มีใจความว่า “ทุก ๆ จุดบนหน้าคลื่นถือได้ว่าเป็นต้นกำเนิดของคลื่นใหม่ ซึ่งให้กำเนิดคลื่นวงกลมที่มีเฟสเดียวกัน เคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นนั้น”

  41. การเลี้ยวเบนของคลื่น(Diffraction of Wave) • หลักของฮอยเกนส์(Huygen’s principal) • อธิบายปรากฏการณ์เลี้ยวเบนของคลื่น

  42. การเลี้ยวเบนของคลื่น(Diffraction of Wave) • การเลี้ยวเบนของคลื่นน้ำผ่านช่องเปิดเดี่ยว • หน้าคลื่นที่ผ่านช่องเปิดเดี่ยวไปได้นั้นทุก ๆ จุดจำทำหน้าที่เสมือนเป็นจุดกำเนิดคลื่นกระจายคลื่นไปเสริมหรือหักล้างกันเกิดเป็นแนวบัพและแนวปฎิบัพขึ้น การทดลองเสมือนจริง

  43. การเลี้ยวเบนของคลื่น(Diffraction of Wave) • การเลี้ยวเบนของคลื่นน้ำผ่านช่องเปิดเดี่ยว • เกิดการแทรกสอดแบบหักล้าง(บัพ) • เกิดการแทรกสอดแบบเสริม(ปฏิบัพ) Path diff = nג dsin Ө = nג ; n = 1 , 2 , 3 , … Path diff = [n+(1/2)] ג dsin Ө = [n+(1/2)]ג ; n = 1 , 2 , 3 , …

  44. การเลี้ยวเบนของคลื่น(Diffraction of Wave) • การเลี้ยวเบนของคลื่นน้ำผ่านช่องเปิดคู่(สลิตคู่) • จากแหล่งกำเนิดที่มีเฟสตรงกัน การทดลองเสมือนจริง

  45. การเลี้ยวเบนของคลื่น(Diffraction of Wave) • สูตรการคำนวณแนวปฎิบัพและแนวบัพจากช่องเปิดคู่ • แนวปฎิบัพ • แนวบัพ Path diff = nג dsin Ө = nג ; n = 0 , 1 , 2 , 3 , … Path diff = [n-(1/2)] dsin Ө = [n-(1/2)]ג ; n = 1 , 2 , 3 , …

  46. คลื่นนิ่ง(standing Wave) • คลื่น2 ขบวนมีแอมพลิจูด,ความยาวคลื่น,อัตราเร็วเท่ากัน เคลื่อนที่สวนทางกันในแนวเส้นตรงเดียวกัน จะเกิดการรวมกัน

  47. คลื่นนิ่ง(standing Wave) • คลื่น2 ขบวนมีแอมพลิจูด,ความยาวคลื่น,อัตราเร็วเท่ากัน เคลื่อนที่สวนทางกันในแนวเส้นตรงเดียวกัน จะเกิดการรวมกัน วีดีโอ

  48. คลื่นนิ่ง(standing Wave) • คลื่นนิ่งในเส้นเชือก วีดีโอ

  49. คลื่นนิ่ง(standing Wave) • คลื่นนิ่งในเส้นเชือก • จากสมการ แอมพลิจูดของตัวกลางมีค่าน้อยที่สุดเมื่อ • ดังนั้น • เนื่องจาก • จะได้ • ตำแหน่งที่แอมพลิจูดเป็นศูนย์เรียกว่า nodes

  50. คลื่นนิ่ง(standing Wave) • คลื่นนิ่งในเส้นเชือก • ตำแหน่งของตัวกลางที่มีการกระจัดสูงสุดเรียกว่า antinodes • จากสมการ ตำแหน่งของอนุภาคของตัวกลางมีการกระจัดสูงสุดเมื่อ • ดังนั้น • เนื่องจาก • จะได้

More Related