200 likes | 459 Views
การบูร ณา การโครงข่ายทางหลวงท้องถิ่น และทางหลวงชนบท. สำนักส่งเสริมการพัฒนาทางหลวง ท้อง ถิ่ กรมทางหลวงชนบท. ความเป็นมาของโครงการ. 2. ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจาย อำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ( ฉบับที่ 3). อปท. มีหน้าที่
E N D
การบูรณาการโครงข่ายทางหลวงท้องถิ่นการบูรณาการโครงข่ายทางหลวงท้องถิ่น และทางหลวงชนบท สำนักส่งเสริมการพัฒนาทางหลวงท้องถิ่กรมทางหลวงชนบท
(ร่าง)แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 3) อปท.มีหน้าที่ ร่วมบูรณาการสายทางกับกรมทางหลวงชนบทตามลักษณะการใช้งาน เพื่อให้ทางหลวงท้องถิ่นและทางหลวงชนบทเชื่อมโยงกันอย่างมีประสิทธิภาพ ทช.มีหน้าที่ ร่วมบูรณาการโครงข่ายทางให้เป็นไปตามหลักวิชาการในการจัดลำดับชั้นความสำคัญของถนน ทั้งทางหลวงชนบทและทางหลวงท้องถิ่นตามลักษณะการใช้งานและให้เชื่อมโยงกันอย่างมีประสิทธิภาพ 3
แนวคิดทฤษฎีที่ใช้วิเคราะห์ทางวิศวกรรมแนวคิดทฤษฎีที่ใช้วิเคราะห์ทางวิศวกรรม 4
ความสัมพันธ์ของการเข้าถึงพื้นที่และการสัญจรของโครงข่ายทางแต่ละประเภทความสัมพันธ์ของการเข้าถึงพื้นที่และการสัญจรของโครงข่ายทางแต่ละประเภท 5
ลักษณะโครงข่ายตามมาตรฐาน AASHTO • เทียบกับระบบทางหลวงของประเทศไทย 6
แนวคิดการจำแนกสายทางแบบ Road Hierarchy ทางสายหลัก (Arterial Roads)คำนึงถึงความคล่องตัวในการสัญจร มากที่สุด ทางสายรอง (Collector Roads)เชื่อมระหว่างทางสายหลักและทางสายย่อย โดยคำนึงถึงทั้งความคล่องตัวในการสัญจร และการเข้าถึงพื้นที่ ทางสายย่อย (Local Roads)คำนึงถึงการเข้าถึงพื้นที่ได้มากที่สุด 7
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์และคัดแยกสายทางหลักเกณฑ์การวิเคราะห์และคัดแยกสายทาง ในปี พ.ศ. 2556 กรมทางหลวงชนบทได้ดำเนินการในขั้นตอนที่ 1 คือ รับฟังความคิดเห็น เพื่อหาปัจจัยในการวิเคราะห์และคัดแยกสายทางใน 4 จังหวัดนำร่อง ซึ่งผลการรับฟังความคิดเห็นที่ประชุม ได้เห็นชอบหลักเกณฑ์ในการคัดแยกสายทางประกอบด้วย 4 ปัจจัยหลักดังนี้ 8
ความต้องการการเดินทางความต้องการการเดินทาง 9
เป้าหมายของการเดินทางเป้าหมายของการเดินทาง • พิจารณาจากจำนวนจุดสนใจ Point Of Interest(POI) ในบริเวณสายทาง (ในรัศมี 1 กม.) • เป้าหมายการเดินทางที่เป็นยุทธศาสตร์สำคัญของกรมทางหลวงชนบท ได้แก่ แหล่งท่องเที่ยว หรือ สถานีขนส่งหรือ ท่าเรือ หรือ สนามบิน หรือโรงงานหรือ คลังสินค้า หรือด่านการค้าชายแดน หรือโครงการพระราชดำริ • เพื่อใช้ในการแยกลักษณะสายทางที่เป็นยุทธศาสตร์ของประเทศ ออกจากสายทางที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 10
ความเป็นโครงข่ายของสายทางความเป็นโครงข่ายของสายทาง • พิจารณาความต่อเนื่องของสายทาง • พิจารณาสายทางเชื่อมต่อระหว่างจังหวัด ระหว่างอำเภอ ระหว่างตำบล • พิจารณาการเชื่อมทางสายหลัก (ทางหลวงแผ่นดิน) 11
การเข้าถึงชุมชน • พิจารณาจากจำนวนประชากรในบริเวณสายทาง • ประชากรเฉลี่ยรวม2 หมู่บ้าน • - หมู่บ้านละ 850 คน • - ตำบลละ 8,700 คน • - อำเภอละ 73,000 คน 12
ปัจจัยหลักและค่าที่ใช้เป็นเกณฑ์ปัจจัยหลักและค่าที่ใช้เป็นเกณฑ์
อ่านข้อมูลสายทาง วิเคราะห์ Topology Yes Yes มีการควบคุม การเข้าออก ≥ 1 > 10,000 ปริมาณจราจรระดับ A ขั้นตอน (หลักเกณฑ์) การพิจารณาคัดแยกสายทาง No No 5,000 - 10,000 Yes Yes ปริมาณจราจรระดับ B จำนวนจังหวัดที่ผ่าน > 1 No No Yes 2,001 - 5,000 Yes จังหวัดที่ผ่าน>1 ปริมาณจราจรระดับ C1 No No Yes Yes 500 - 2,000 ปริมาณจราจรระดับ C2 เชื่อมทางสายหลัก 2 ด้าน No No Yes Yes Yes เชื่อมทางสายหลัก 1 ด้าน จำนวนอำเภอที่ผ่าน > 1 จำนวนจุดสนใจ (POI) > 1 No No No Yes จำนวนตำบลที่ผ่าน ≥ 3 ระยะทางไม่น้อย กว่า 10 กม. จำนวนอำเภอที่ผ่าน > 1 ระยะทางไม่น้อยกว่า 8 กม. No Yes No No จำนวนตำบลที่ผ่าน > 2 Yes Yes จำนวนตำบลที่ผ่าน > 1 No Yes จำนวนประชากร ≥ K No สายทางหลัก สายทางรองกลุ่มที่ 2 สายทางรองกลุ่มที่ 1 สายทางย่อยกลุ่มที่ 2 สายทางย่อยกลุ่มที่ 1 Motorway
ขั้นตอนการดำเนินงานการบูรณาการโครงข่ายทางขั้นตอนการดำเนินงานการบูรณาการโครงข่ายทาง ที่ปรึกษาวิเคราะห์คัดแยกสายทางตามหลักเกณฑ์ ที่ปรึกษาร่วมกับ สสท./สทช./ทชจ. คัดเลือกสายทางที่มีความเหมาะสม/จำเป็นต้องสำรวจข้อมูลภาคสนามในพื้นที่เพิ่มเติม รวบรวมข้อมูล ทุติยภูมิสายทาง ข้อมูลทางหลวงท้องถิ่น ที่ปรึกษาร่วมกับ ทชจ./อปท. ในพื้นที่ สำรวจ ตรวจสอบข้อมูลสายทางภาคสนามในพื้นที่เพิ่มเติม ข้อมูลทางหลวง ข้อมูลทางหลวงชนบท ที่ปรึกษาจัดทำร่างแผนที่ต้นแบบ 26 จังหวัด • ทุก อปท. ในจังหวัดตรวจสอบร่างแผนที่ต้นแบบ/ให้ข้อคิดเห็น • สทช./ทชจ. ตรวจสอบร่างแผนที่ต้นแบบ/ให้ข้อคิดเห็น ข้อมูลทางหลวงแผ่นดิน ที่ปรึกษานำข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ มาวิเคราะห์/ปรับแก้ และจัดทำร่างแผนที่ต้นแบบ (26 จังหวัด) ร่างแผนที่ต้นแบบ 12 จังหวัด (กรมฯได้จัดทำไว้เมื่อปี 2556) ที่ปรึกษาจัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อบูรณาการโครงข่ายทางระดับจังหวัด (38 จังหวัด) ปรับปรุงข้อมูลโครงข่ายทางที่ผ่านการ บูรณาการแล้ว ลงในระบบฐานข้อมูล สายทาง ของ สสท. จัดทำแผนพัฒนา โครงข่ายทาง/แผนปฏิบัติการระยะสั้น และระยะยาว ในแต่ละจังหวัด สรุปผลการบูรณาการโครงข่ายทางระดับจังหวัด จัดทำแผนที่โครงข่ายทางถนนสายหลัก ถนนสายรอง และถนนสายย่อย ในแต่ละจังหวัด โดยแยกเป็นรายจังหวัด รายอำเภอ และราย อปท.
ผลที่จะได้รับจากการบูรณาการโครงข่ายทาง ผลที่จะได้รับจากการบูรณาการโครงข่ายทาง ปรับปรุงโครงข่ายสายทางให้เหมาะสมทั้งทางหลวงชนบทและทางหลวงท้องถิ่นตามลักษณะการใช้งาน ให้เชื่อมโยงกันอย่างมีประสิทธิภาพ อปท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถใช้ข้อมูลโครงข่ายทางในการวางแผน ดูแลซ่อมบำรุง และพัฒนาในส่วนที่รับผิดชอบของหน่วยงานได้อย่างเหมาะสมและไม่เกินศักยภาพ ประชาชนสามารถใช้ข้อมูลและแผนที่โครงข่ายทางในการคมนาคมขนส่งได้อย่างสะดวก และลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางได้ 16
THE END สำนักส่งเสริมการพัฒนาทางหลวงท้องถิ่น กรมทางหลวงชนบท