460 likes | 740 Views
2475 2485 2495 2505 2535 2545 2555?. ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการสร้างสำนึกพลเมือง. การสร้างสำนึกพลเมืองมีขั้นตอนอะไรบ้าง (Project Citizen). ขั้นตอนที่ 1 – ระบุปัญหาในชุมชน ขั้นตอนที่ 2 – คัดเลือกปัญหาที่จำเป็นต้องแก้ไข
E N D
2475 2485 2495 2505 2535 2545 2555? ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการสร้างสำนึกพลเมือง
การสร้างสำนึกพลเมืองมีขั้นตอนอะไรบ้าง(Project Citizen) ขั้นตอนที่ 1 – ระบุปัญหาในชุมชน ขั้นตอนที่ 2 – คัดเลือกปัญหาที่จำเป็นต้องแก้ไข ขั้นตอนที่ 3 – รวบรวมข้อมูลของปัญหา ขั้นตอนที่ 4 – พัฒนาแฟ้มผลงาน ขั้นตอนที่ 5 – นำเสนอแฟ้มผลงานเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น อาทิ รับฟังความคิดเห็นเพื่อหาข้อตกลงร่วมกันจากชุมชนและ ผู้เกี่ยวข้องทั้งจาก อปท. และผู้นำชุมชนต่างๆ ขั้นตอนที่ 6 – การสะท้อนประสบการณ์การเรียนรู้จากโครงการ 2
การสร้างสำนึกพลเมือง • ความหมาย • กระบวนการ • ใคร? ระดับ? • ขอบเขต /ระยะเวลา นโยบายสาธารณะ กระบวนการ 6 ขั้นตอน 1. ระบุปัญหา 2. เลือกปัญหา ฉันทามติ 3. เก็บรวบรวมข้อมูล อธิบายปัญหา ประเมินนโยบายที่มีอยู่ นำเสนอนโยบาย แผนงาน 4. การจัดทำผลงาน 5. การนำเสนอนโยบายต่อผู้รับผิดชอบ ไม่รับ รับนำไปประยุกต์ นโยบายสาธารณะในการแก้ปัญหา ดำเนินการเอง 6. สะท้อน แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหา
ขั้นตอนที่ 1: ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชน
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ หลังจากสิ้นสุดการบรรยายในหัวข้อนี้ ผู้เข้าร่วมควรเข้าใจวิธีการต่างๆ ดังนี้ • การระบุปัญหาที่ชุมชนเผชิญอยู่ • การชี้ให้เห็นถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของภาครัฐที่จะต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆ • สามารถระบุสิ่งที่รับรู้รับทราบแล้วเกี่ยวกับปัญหาเหล่านั้น
D - A - D Decide Announce Defend ตัดสินใจ ประกาศ ปกป้อง Go slow to go fast ช้า ๆ ได้พร้าเล่มงาม กลุ่มอาการ SYNDROME คุณพ่อรู้ดี ผู้ใหญ่ลี
กิจกรรมที่ 1: ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชน 1. ให้แต่ละคนนึกถึงและเขียนปัญหาสาธารณะในชุมชนคนละ 3 ปัญหา 2. ให้แต่ละคนเลือกมา 1 ปัญหา และนำเสนอต่อกลุ่มว่าทำไมเลือกปัญหานี้ 3. เมื่อกลุ่มฟังทุกปัญหาแล้ว ให้แต่ละกลุ่มเลือกปัญหาให้เหลือกลุ่มละ 2 ปัญหา 8
กิจกรรมที่ 1: ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชน (ต่อ) กลุ่มมี “วิธีการได้มาซึ่งปัญหา 2 ชนิด อย่างไร 9
หลักการในการเลือกปัญหาต่างๆ ในชุมชน คำถามที่สำคัญที่จำเป็นต้องตอบก่อนที่จะเลือกปัญหา 1. ปัญหาที่คัดเลือกมามีความสำคัญกับคนในชุมชนหรือไม่ ? 2. ภาครัฐมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการกับปัญหานั้นหรือไม่ อย่างไร ? 3. มีข้อมูลของปัญหาที่เพียงพอสำหรับการพัฒนาให้เป็นโครงการที่ดี หรือไม่? 4. มีความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหาหรือไม่ ? 5. ยังมีปัญหาอื่นในชุมชนอีกหรือไม่ที่คิดว่ามีประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชน ?
ขั้นตอนที่ 2 : การคัดเลือกหนึ่งปัญหาเพื่อใช้สำหรับการศึกษา 11
หลังจากสิ้นสุดการบรรยายในหัวข้อนี้ ผู้เข้าร่วมควรเข้าใจถึงวิธีการต่างๆ ดังนี้ การระบุปัญหาที่สำคัญที่สุดที่ชุมชนเผชิญอยู่ การรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพิ่มเติมเพื่อจะได้เข้าใจปัญหานั้นอย่างถ่องแท้ กำหนดเกณฑ์คัดเลือกในการเลือกสรรหัวข้อที่จะทำการศึกษา คัดเลือกหัวข้อที่จะทำการศึกษา สามารถหาฉันทามติของกลุ่มในการเลือกปัญหาที่จะทำการศึกษา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 12
หลักการในการเลือกปัญหาที่จะศึกษาหลักการในการเลือกปัญหาที่จะศึกษา คำถามที่สำคัญจำเป็น ต้องได้รับการพิจารณาก่อนที่จะทำการคัดเลือกปัญหา ปัญหาที่คัดเลือกมามีความสำคัญกับคุณและคนในชุมชนหรือไม่ ? ภาครัฐมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการกับปัญหานี้หรือไม่ ? ข้อมูลของปัญหามีเพียงพอสำหรับการพัฒนาให้เป็นโครงการที่ดีหรือไม่ ? มีความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหาที่เลือกมาหรือไม่ ? 13
เรามีรูปแบบอะไรบ้างที่ใช้ในการตัดสินใจ?เรามีรูปแบบอะไรบ้างที่ใช้ในการตัดสินใจ? เรามีรูปแบบอะไรบ้างที่ใช้ในการตัดสินใจ? 14
แข่งขัน ร่วมมือ MY COMPETE COOPERATION (OUR WAY) (MY WAY) ประนีประนอม COMPROMISE (HALF WAY) หลีกหนี ยอมตาม AVOID COMPLIANCE (NO WAY) (YOUR WAY) YOUR กระบวนการตัดสินใจ
คำจำกัดความของ เสียงข้างมาก (majority) ฉันทามติ (consensus) 16
เสียงข้างมากหมายความว่าอะไร?เสียงข้างมากหมายความว่าอะไร? เสียงข้างมากคือma·jor·i·ty 1. จำนวนหรือส่วนที่มากกว่าครึ่ง 2. จำนวนคะแนนเสียงส่วนใหญ่ที่ได้มาจากการแข่งขันที่เกินจากจำนวนเสียงที่เหลืออยู่ 17
เอกฉันท์ ฉันทามติ เสียงส่วนใหญ่
ฉันทามติหมายความว่าอะไร?ฉันทามติหมายความว่าอะไร? con·sen·sus “ข้อสรุป หรือ ผลของการตัดสินใจของกลุ่มที่ผ่านการพูดคุย ปรึกษา หารือ ด้วยเหตุผล และคนส่วนใหญ่ยอมรับในเหตุผลนั้นๆ” 19
ขั้นตอนของฉันทามติในห้องเรียนขั้นตอนของฉันทามติในห้องเรียน พูดคุยถึงแต่ละปัญหา หยิบยกคำถาม นำมาพูดคุยกันและพิจารณาถึงหนทางปฏิบัติในการแก้ไขที่เป็นจริงได้ หาจุดร่วมและความต่าง ความตกลงและข้อขัดแย้งระหว่างปัญหาต่างๆ ให้การอำนวยการผสมผสานปัญหาที่คล้ายกันหรือปรับปรุงแก้ไขปัญหา หยิบยกปัญหาใหม่ที่เกิดจากการพูดคุย 20
ขั้นตอนของฉันทามติในห้องเรียนขั้นตอนของฉันทามติในห้องเรียน ต้องนำเกณฑ์ต่อไปนี้มาพิจารณา รัฐบาลมีอำนาจหรือความรับชอบในการดำเนินการต่อปัญหานี้หรือไม่ ปัญหานี้ถือว่าเป็นปัญหาเฉพาะเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะหรือไม่ ปัญหานี้มีความสำคัญต่อเยาวชนหรือไม่ หรือมีผลกระทบทางตรงหรือทางอ้อม มีเหตุผลเพียงพอที่จะเชื่อว่านโยบายสาธารณะสามารถเป็นไปได้หรือไม่ หรือจะแก้ปัญหาได้หรือไม่ ท่านสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเพียงในการศึกษาเกี่ยวกับปัญหานี้หรือไม่ 21
และที่สำคัญ.....ฉันทามติในห้องเรียนได้มาจาก........และที่สำคัญ.....ฉันทามติในห้องเรียนได้มาจาก........ การสร้างสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมให้มีการพูดคุยที่มีเหตุผลและมีแนวคิดที่ดี การให้นักเรียนออกความคิดเป็นที่หลากหลายและค้นหาแนวคิดที่แตกต่าง ไม่ควรให้นักเรียนถูกชักนำโดยเพื่อนที่มีความคิดที่ หรือ (โดยครู) มีกระบวนในการผสมผสานความคิดที่แตกต่างกันเมื่อมีการลงเป็นฉันทามติโดยปล่อยให้มีทั้งที่ความคิดที่ไม่เห็นด้วยหรือแนวความคิดที่แตกต่างกัน 22
กระบวนการสร้างฉันทามติ คืออะไร คือ “กระบวนการ” สมาชิก ทุกคนมีส่วนร่วม สนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมทุกคนออกความเห็นและความเห็นของทุกคนถูกนำมาใช้ ความเห็นแตกต่าง(Difference)ถูกมองว่าเป็นประโยชน์แทนที่จะมองว่าเป็นอุปสรรค
กระบวนการสร้างฉันทามติ คืออะไร (ต่อ) สมาชิกที่ยังไม่เห็นด้วยกับข้อสรุป เมื่อกระบวนการเสร็จสิ้นแล้ว ยอมรับที่จะให้เวลาเป็นเครื่องทดสอบข้อสรุปนั้น ต้องให้เวลาที่เพียงพอ กับทุกคนในแสดงความคิดเห็น เข้าใจ ความเห็นระหว่างกัน ก่อนจบและตัดสินใจ แม้จะใช้เวลานานก็ตาม สุดท้าย..สมาชิกทุกคนมีส่วนในการตัดสินใจ
DEBATE การโต้วาที V/S DIALOGUE การพูดคุยกัน
การสานเสวนาคืออะไร คือกระบวนการมีส่วนร่วมที่เน้นการฟังอย่างตั้งใจ การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน ตลอดจนเพื่อร่วมกันพิจารณาหาทางออก เป็นกระบวนการอย่างไม่เป็นทางการ ไม่มีโครงสร้างตายตัว เป้าหมายของกระบวนการสานเสวนาไม่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การตัดสินใจ หรือการปฏิบัติ แต่เพื่อต้องการทำให้เกิดความเข้าใจอย่างท่องแท้ในประเด็นปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น โดยจะเน้นในประเด็นที่ยังไม่เข้าใจกัน กระบวนการสานเสวนาเป็นเครื่องมือที่ช่วยป้องกันความขัดแย้งและช่วยลดการอคติ มากกว่าเป็นเครื่องมือที่จะใช้แก้ปัญหาหรือข้อพิพาทโดยเฉพาะ
การสานเสวนาคืออะไร (ต่อ) การสานเสวนาเป็นเรื่องเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เป็นวิถีทางของการคิด สะท้อนหรือตอบสนองความคิดเห็นร่วมกัน ไม่ใช่กระบวนการที่คุณทำให้แก่คนอื่น แต่เป็นกระบวนการที่คุณทำร่วมกับคนอื่น
เชื่อว่ามีคำตอบที่ถูกอย่างเดียว (และฉันมีคำตอบนั้น) พร้อมรบ : พยายามพิสูจน์ว่าคนอื่นผิด เกี่ยวกับการเอาชนะกัน ฟังเพื่อจะหาช่องโหว่หรือข้อบกพร่อง เชื่อว่าคนอื่นก็มีบางส่วนของคำตอบ พร้อมร่วมมือ : พยายามหาความเข้าใจร่วมกัน เกี่ยวกับการพิจารณาหาสิ่งที่ร่วมกัน ฟังเพื่อที่จะทำความเข้าใจ การถกเถียงกับการสานเสวนาDebate V/S Dialogue
ปกป้องสมมติฐานของเรา จับผิดมุมมองของฝ่ายอื่น ปกป้องมุมมองเดียวจาก มุมมองอื่น หยิบยกสมมติฐานของเราขึ้นเพื่อรับการตรวจสอบและอภิปราย ตรวจสอบมุมมองของทุกๆฝ่าย ยอมรับความคิดของคนอื่นเพื่อนำมาปรับปรุงความคิดของตน การถกเถียงกับการสานเสวนาDebateV/SDialogue
แสวงหาจุดอ่อนและข้อบกพร่องในจุดยืนของฝ่ายอื่นแสวงหาจุดอ่อนและข้อบกพร่องในจุดยืนของฝ่ายอื่น แสวงหาทางออกที่ตอบสนองจุดยืนของเรา แสวงหาจุดแข็งและคุณค่าในจุดยืนของฝ่ายอื่น ค้นพบโอกาสและความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ที่หลากหลาย การถกเถียงกับการสานเสวนาDebateV/SDialogue
การให้น้ำหนักในการลงคะแนนกรณีใช้ Sticker เห็นด้วยกับแนวคิดทั้งหมด จะให้การสนับสนุน ไม่สนับสนุน Sticker แต่ละสี จะแสดงความเห็นที่แตกต่างกัน 32
การให้น้ำหนักในการลงคะแนน กรณีใช้ ปากกาสี เห็นด้วยกับแนวคิดทั้งหมด จะให้การสนับสนุน ไม่สนับสนุน ปากกาแต่ละสี จะแสดงความเห็นที่แตกต่างกัน 33
โลกส่วนตัว/ พื้นที่ส่วนตัว ภาคประชาสังคม/ ภาคประชาชน ภาครัฐ/ รัฐบาล
โลกส่วนตัว/ พื้นที่ส่วนตัว ภาคประชาสังคม/ ภาคประชาชน ภาครัฐ/ รัฐบาล
โลกส่วนตัว/ พื้นที่ส่วนตัว ภาคประชาสังคม/ ภาคประชาชน ภาครัฐ/ รัฐบาล
ภาคประชาสังคม/ ภาคประชาชน โลกส่วนตัว/ พื้นที่ส่วนตัว ภาครัฐ/ รัฐบาล
โลกส่วนตัว/ พื้นที่ส่วนตัว ภาคประชาสังคม/ ภาคประชาชน ภาครัฐ/ รัฐบาล