130 likes | 241 Views
การบริหารการนำเข้าข้าวภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน โดย วิบูลย์ลักษณ์ ร่วมรักษ์. วันศุกร์ที่ 15 มกราคม 2553 กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. หัวข้อการนำเสนอ 1. สถานการณ์ข้าวของโลกและประเทศไทย 2. การเตรียมการรองรับการเปิดตลาดข้าวภายใต้ AFTA 2.1 การเตรียมการ 2.2 ข้อเสนอแนวทาง
E N D
การบริหารการนำเข้าข้าวภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียนการบริหารการนำเข้าข้าวภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน โดย วิบูลย์ลักษณ์ ร่วมรักษ์ วันศุกร์ที่ 15 มกราคม 2553 กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หัวข้อการนำเสนอ 1. สถานการณ์ข้าวของโลกและประเทศไทย 2. การเตรียมการรองรับการเปิดตลาดข้าวภายใต้ AFTA 2.1 การเตรียมการ 2.2 ข้อเสนอแนวทาง 3. มาตรการรองรับ 3.1 คณะอนุกรรมการบริหารการนำเข้าข้าวภายใต้เขตการค้าเปิดเสรีอาเซียน 3.2 ศูนย์ปฏิบัติการ AFTA Hotline 1385 4. มาตรการติดตามประเมินผล
1. สถานการณ์ข้าวโลกและข้าวไทย (1) สถานการณ์ข้าวโลก - ผลผลิตข้าวลดลงในอินเดีย ฟิลิปปินส์ บราซิล ปากีสถาน และเพิ่มขึ้น ในประเทศจีน พม่า และกัมพูชา • ฟิลิปปินส์ได้เปิดประมูลนำเข้าข้าวสำหรับปี 2553 ไปแล้วรวม 4 ครั้งและได้ตกลงซื้อข้าวรวม 1.82 ล้านตัน - ในปี 2552 ไทยเป็นผู้ส่งออกข้าวอันดับหนึ่งของโลก 8.57 ล้านตัน คิดเป็นสัดส่วนทางการตลาดข้าวโลกประมาณ ร้อยละ 29.87
(2) สถานการณ์ข้าวไทย - ผลผลิตปี 52/53 ประมาณ 31.28 ล้านตันข้าวเปลือก หรือ 20.64 ล้านตันข้าวสาร ลดลงร้อยละ 0.5 - ในปี 2553 คาดว่าไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ 9.1-9.5 ล้านตัน มูลค่า 5,005-5,225 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
2. การเตรียมการรองรับ 2.1 การเตรียมการ กระทรวงพาณิชย์โดยกรมการค้าต่างประเทศได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องระหว่างเดือน มี.ค.-ก.ย. 2552 ดังนี้ - จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อพิจารณาแนวทางการเปิดตลาดข้าว • จัดเวทีสาธารณะเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่องแนวทางมาตรการเปิดตลาดข้าวภายใต้ AFTA ใน 6 ภูมิภาคครอบคลุมทุกจังหวัด
2.2 ข้อเสนอแนวทาง ข้อเสนอแนวทางดำเนินการเปิดตลาดข้าวภายใต้ AFTA ดังนี้ - การกำหนดชนิดข้าว คุณสมบัติของผู้นำเข้าและช่วงระยะเวลาในการนำเข้า • การกำหนดให้ยื่นแผนการใช้และการนำเข้า • การกำหนดให้มีการตรวจสอบคุณภาพมาตรฐาน • การกำหนดด่านนำเข้า • การกำหนดหน่วยงานในการติดตามการนำเข้า
การกำหนดชนิดข้าว คุณสมบัติของผู้นำเข้าและช่วงระยะเวลาในการนำเข้า • ให้นำเข้าข้าวสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมเท่านั้น • คุณสมบัติผู้นำเข้าข้าวและผู้มีสิทธิขอหนังสือรับรอง • นิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์ในการประกอบกิจการแปรรูปข้าวหรือผลิตภัณฑ์ข้าว • ผู้ประกอบการค้าข้าวตามกฎหมายว่าด้วยการค้าข้าวจากกรมการค้าภายใน • ผู้ประกอบกิจการโรงงานง่าด้วยกฎหมายโรงงานจากกรมโรงงาน • มีแผนการผลิตว่ามีความต้องการข้าวชนิดใดจากประเทศใดเป็นวัตถุดิบในการผลิตเท่าใด • ระยะเวลาและเงื่อนไขการนำเข้าข้าว • การออกหนังสือรับรองให้ผู้มีสิทธิที่ยื่นคำขอตามปริมาณและช่วงเวลาการนำเข้า
การกำหนดให้ยื่นแผนการใช้และการนำเข้าการกำหนดให้ยื่นแผนการใช้และการนำเข้า • ให้ผู้ขอนำเข้ายื่นความประสงค์หรือแผนการใช้และการนำเข้าต่อคณะอนุกรรมการฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติก่อนการนำเข้า
การกำหนดให้มีการตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานการกำหนดให้มีการตรวจสอบคุณภาพมาตรฐาน • ให้ข้าวที่นำเข้าต้องได้รับการตรวจสอบจากหน่วยงานที่รับผิดชอบตามที่กฎหมายกำหนดและให้มีหนังสือรับรองการตรวจสอบจากหน่วยงานของประเทศที่ส่งข้าวมายังประเทศไทยเพื่อให้ข้าวที่นำเข้า มีคุณภาพ ปลอดโรค แมลง ศัตรูพืช ไม่มีสารพิษตกค้าง รวมทั้งปลอด GMOS
การกำหนดด่านนำเข้า - ด่านศุลกากรอรัญประเทศ อ.อรัญประเทศ จ. สระแก้ว - ด่านศุลกากรหนองคาย อ.เมือง จ. หนองคาย - ด่านศุลกากรแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย - ด่านศุลกากรแม่สอด อ.แม่สอด จ.ตาก - ด่านศุลกากรระนอง อ.เมือง จ.ระนอง - ด่านศุลกากรท่าเรือกรุงเทพฯ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ
3. มาตรการรองรับ 3.1 คณะอนุกรรมการบริหารการนำเข้าข้าวภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน - กขช. ได้มีคำสั่งที่ 12/2552 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2552 แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการบริหารการนำเข้าข้าวภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน • มีหน้าที่ในการเสนอแนวทางการดำเนินการและมาตรการรองรับการเปิดตลาดข้าวภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน รวมทั้งแผนงาน /โครงการที่เกี่ยวข้องให้ กขช. พิจารณา
3.2 การติดตามประเมินผล - กรมการค้าต่างประเทศจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการ AFTA Hotline 1385ติดตามและประเมินผลการนำเข้าข้าวภายใต้ AFTA และรายงานผลให้คณะอนุกรรมการฯ ทราบเป็นระยะๆ
4. มาตรการติดตามประเมินผล - จัดสัมมนาใหญ่กลางเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ที่กรุงเทพฯ - รายงานครม. - ตรวจเยี่ยมด่าน / หน่วยเคลื่อนที่แก้ไขปัญหา - จัดอบรมสัมมนาในต่างจังหวัดทั่วภูมิภาค