1 / 44

ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์( e-Office ) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์( e-Office ) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. http://portal.obec.go.th. การดำเนินงานที่ผ่านมา. สพฐ . จัดทำระบบ e-Office ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 สพฐ . จัดอบรมขยายผลครั้งที่ 1 เมื่อปี พ.ศ. 2553 จ.กรุงเทพฯ (ผ่องใส , อนุเดช เข้าร่วมประชุม)

keenan
Download Presentation

ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์( e-Office ) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์(e-Office) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน http://portal.obec.go.th

  2. การดำเนินงานที่ผ่านมาการดำเนินงานที่ผ่านมา • สพฐ. จัดทำระบบ e-Office ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 • สพฐ. จัดอบรมขยายผลครั้งที่ 1 เมื่อปี พ.ศ. 2553 จ.กรุงเทพฯ (ผ่องใส , อนุเดช เข้าร่วมประชุม) • สพฐ. ทำการปรับปรุงระบบ e-Office ปี พ.ศ. 2555 • สพฐ. จัดอบรมขยายผลการใช้งานระบบ e-Office ปี พ.ศ.2556 จ.พิษณุโลก (ผ่องใส , วันทนี , สุภาภรณ์ เข้าร่วมประชุม) • สพป.แม่ฮ่องสอน เขต 1 แต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการขับเคลื่อนการใช้งาน e-Office • สพฐ. แจ้งให้ สพป.แม่ฮ่องสอน เขต 1 ดำเนินการขยายผลให้กับบุคลากรทุกคน รวมถึงผู้บริหาร และบุคลากรในโรงเรียน

  3. แนวทางการดำเนินงาน2.1 ขยายผลให้บุคลากรทุกคน รวมผู้บริหาร ในเขตพื้นที่2.2 ขยายผลให้บุคลากรในสถานศึกษา ประเมินผล สรุปรายงาน จัดทำรูปเล่มพร้อมรูปภาพประกอบ การใช้งาน e-Office ภายในหน่วยงานและสถานศึกษา

  4. หน้า portal เว็บพอร์ทัล (Web Portal) หรือ เว็บท่า ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางให้บริการข้อมูลและการบริการต่าง ๆ โดยมีทั้ง ข้อมูลและการบริการที่อยู่ภายในเว็บไซต์เอง และข้อมูลที่เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ต่างๆ

  5. Single sign-on Single Sign-on (SSO) คือ การเข้าถึงการใช้บริการของระบบทั้งหมดได้ด้วยการพิสูจน์ตัวตนเพียงครั้งเดียว ตัวอย่างการใช้งาน SSO เช่น facebook , gmail , hotmail , ฯลฯ ระบบรักษาความปลอดภัย AAA Authentication - การยืนยันตัวตน Authorization - การให้อำนาจการใช้งาน Accounting - การบันทึกข้อมูลการใช้งาน **ระบบ e-office ของ สพฐ. มีการวางแผนระยะยาวที่จะใช้งานจนถึงระดับนักเรียนรายบุคคล (เร็วๆ นี้ เตรียมพบกับระบบ LMS)

  6. หน้าหลักการเข้าใช้งานหน้าหลักการเข้าใช้งาน

  7. ระบบงานใน e-Office • ระบบมาปฏิบัติราชการ • ระบบการออกใบรับรอง • ระบบการเบิกสวัสดิการ • ระบบพัสดุ • ระบบจองยานพาหนะ • ระบบบัญชี • ระบบงานสารบรรณ

  8. ระบบมาปฏิบัติราชการ บันทึกเวลามาปฏิบัติราชการ เวลาเข้า และเวลาออก การขออนุญาตลาต่อผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอำนาจในการพิจารณาอนุญาตการลา

  9. ระบบมาปฏิบัติราชการ

  10. ระบบการออกใบรับรอง ขอหนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงินค่ารักษาพยาบาล ขอหนังสือรับรองเงินเดือน

  11. ระบบการออกใบรับรอง

  12. ระบบการเบิกสวัสดิการ ขอเบิกค่ารักษาพยาบาล ขอรับเงินค่าเช่าบ้าน ขอเบิกค่าศึกษาบุตร

  13. ระบบการเบิกสวัสดิการ

  14. ระบบพัสดุ งานวัสดุ งานสินทรัพย์ รายละเอียดสินทรัพย์ , การแจ้งซ่อม,ประวัติการซ่อมบำรุง , มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ ณ สิ้นปีงบประมาณ , สรุปทะเบียนสินทรัพย์ คลังวัสดุ , การแจ้งเบิกวัสดุ , สรุปวัสดุคงเหลือแยกตามหมวด หมู่ และคลังวัสดุ , สมุดคุมบัญชีวัสดุ

  15. ระบบพัสดุ

  16. ระบบจองยานพาหนะ การจองรถ , การจัดรถตามใบจอง , การแจ้งซ่อมรถ , ประวัติการซ่อมรถ , ตรวจสอบระยะทาง-ประวัติการใช้งานแต่ละคัน , รายงานเลขไมล์ ,งานรายการปฏิบัติงานของพนักงานขับรถ พิมพ์ใบอนุญาตใช้รถ,บันทึกระยะทางการใช้รถ

  17. ระบบจองยานพาหนะ

  18. ระบบระบบบัญชี รายละเอียดการเบิกจ่ายเงิน บันทึกข้อมูลกิจกรรม/โครงการย่อย ภายใต้แผนงาน , ผลผลิต/โครงการ กิจกรรมหลัก รายการงบประมาณ , รายการการขอใช้จ่ายเงินงบประมาณ สรุปยอดการใช้จ่ายเงินตามเดือน

  19. ระบบงานสารบรรณ การรับ-ส่งหนังสือราชการ การพิมพ์ทะเบียนต่างๆ การอนุมัติ สั่งการลงนาม

  20. ระบบงานสารบรรณ เจ้าหน้าที่ทั่วไป

  21. ระบบงานสารบรรณ เจ้าหน้าที่ทั่วไป – การสร้างหนังสือ/บันทึกข้อความ

  22. การบันทึกสร้างหนังสือการบันทึกสร้างหนังสือ

  23. ระบบงานสารบรรณ เจ้าหน้าที่ทั่วไป – การสืบค้น พิมพ์รายงาน ทะเบียน สถิติ

  24. ระบบงานสารบรรณ การตรวจสอบความเคลื่อนไหวของหนังสือ

  25. ระบบงานสารบรรณ การตรวจสอบงานรายการหนังสือที่ยังไม่ได้ดำเนินงาน

  26. การรับหนังสือ (รูปแบบเดิม) ลงทะเบียนรับ ส่งต่อกลุ่มภารกิจ สารบรรณกลาง ผ่านระบบ e-filing ควบคู่กระดาษ พิมพ์แล้วให้ผอ.กลุ่มพิจารณา แล้วส่งต่อเจ้าหน้าที่ สารบรรณกลุ่ม เจ้าหน้าที่

  27. การตั้งเรื่อง (รูปแบบเดิม) ออกเลขที่หนังสือ เจ้าหน้าที่ ใช้ e-filing ผอ.กลุ่ม สารบรรณกลุ่ม ใช้ กระดาษ รอง ผอ.เขต ผอ.เขต

  28. การส่งหนังสือ (รูปแบบเดิม) ออกเลขที่หนังสือ ใช้ e-filing เขียน เลขที่/ลว บนหนังสือนำส่ง ถ่ายสำเนา/สแกน ส่งไปรษณีย์/ตู้รังผึ้ง/e-missive/ด้วยตนเอง สพฐ./โรงเรียน/หน่วยงานอื่น ถึงผู้รับ

  29. การรับหนังสือ (รูปแบบใหม่) ลงทะเบียนรับ ส่งต่อกลุ่มภารกิจ สารบรรณกลาง ผ่านระบบ e-Office สารบรรณกลุ่ม ส่งต่อเจ้าหน้าที่ พิมพ์เก็บหลักฐาน/เปิดอ่านหนังสือ เจ้าหน้าที่

  30. การตั้งเรื่อง (รูปแบบใหม่) ผ่านระบบ e-office บันทึกข้อความบนกระดาษควบคู่การใช้ระบบหรือแนบไฟล์บันทึกข้อความผ่านระบบ ออกเลขที่หนังสือ เจ้าหน้าที่ ใช้ระบบ e-office ผอ.กลุ่ม สารบรรณกลาง/กลุ่ม รอง ผอ.เขต ผอ.เขต ผอ.เขต สั่งการผ่านระบบ/หน้าห้องพิมพ์หนังสือนำส่งให้ผอ.ลงนาม/ผอ.อนุญาตให้ใช้ลายเซ็นสแกน

  31. การส่งหนังสือ (รูปแบบใหม่) ออกเลขที่หนังสือ ใช้ e-Office เขียน เลขที่/ลว บนหนังสือนำส่ง ฉบับจริง/ถ่ายสำเนา/สแกน ฉบับจริง/ถ่ายสำเนา ส่งไปรษณีย์/ด้วยตนเอง e-Office/ไปรษณีย์/ด้วยตนเอง สพฐ./โรงเรียน หน่วยงานอื่น ถึงผู้รับ ถึงผู้รับ

  32. ข้อที่เป็นประโยชน์ของระบบ e-Office • สามารถทำงานที่ไหนก็ได้ที่มีอินเทอร์เน็ต • การอนุมัติ สั่งการ โดยผู้บริหารสามารถทำได้อย่างรวดเร็ว • การรับ-ส่งหนังสือราชการ ระหว่างหน่วยงานของ สพฐ. ทำได้รวดเร็ว • ทุกระบบเชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียว ไม่ต้องใช้หลากหลายโปรแกรม • การค้นหา พิมพ์รายงานต่างๆ สามารถทำได้สะดวกขึ้น • สพฐ. อาจจะใช้ e-Office เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของ สพฐ. • ผู้บริหารสามารถค้นหา ตรวจสอบ พิมพ์รายงาน สถิติต่างๆ ได้

  33. ข้อจำกัดของระบบ e-Office • ต้องมีระบบอินเทอร์เน็ต • เป็นระบบใหม่มีข้อผิดพลาดที่ต้องแก้ไขอยู่บ้าง • หากระบบที่ส่วนกลางมีปัญหา เขตพื้นที่/โรงเรียนไม่สามารถทำงานได้ • หนังสือราชการบางประเภท ไม่สามารถใช้งานร่วมกับระบบ e-office ได้ • ต้องอาศัยระยะเวลาในการปรับตัวเข้ากับระบบ ที่ไม่คุ้นเคยและแตกต่างกับที่ปฏิบัติกันตามปกติ • บางระบบมีความละเอียด และต้องบันทึกข้อมูลจำนวนมาก

  34. จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ

More Related