1 / 51

สรุปผล การ ดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ตัวชี้วัดที่พอดีเกณฑ์ + ไม่ผ่านเกณฑ์

สรุปผล การ ดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ตัวชี้วัดที่พอดีเกณฑ์ + ไม่ผ่านเกณฑ์ การ ประเมินผล งานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี ปีงบประมาณ 2557. โดย... วิเคราะห์โดย PM ( Project Manager ) 20 แผนสุขภาพ รวบรวมโดย... งานนโยบายและแผน โรงพยาบาลบ้านโป่ง.

Download Presentation

สรุปผล การ ดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ตัวชี้วัดที่พอดีเกณฑ์ + ไม่ผ่านเกณฑ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ตัวชี้วัดที่พอดีเกณฑ์ + ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินผลงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี ปีงบประมาณ 2557 โดย... วิเคราะห์โดย PM (Project Manager) 20 แผนสุขภาพ รวบรวมโดย... งานนโยบายและแผน โรงพยาบาลบ้านโป่ง

  2. สรุปการประเมินผลงาน " โรงพยาบาล" ปีงบประมาณ 2557 โรงพยาบาลบ้านโป่ง คะแนนอิงเกณฑ์ C+ ได้คะแนน 59.32 จัดอยู่ในระดับ ที่ 10 สสอ.บ้านโป่ง คะแนนอิงเกณฑ์ระดับ B ได้คะแนน 60.10 จัดอยู่ในระดับ ที่ 7 มีคะแนน คปสอ. (เท่ากัน) 45.24 1. มิติภายนอก 1.1 มิติด้านประสิทธิผล 31 ข้อ 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 11 ข้อ 2. มิติภายใน 2.1 มิติด้านประสิทธิภาพ 3 ข้อ 2.2 มิติด้านพัฒนาองค์กร 3 ข้อ

  3. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - มีคำสั่งแต่งตั้ง คกก. อนามัยแม่และเด็ก ระดับ คปสอ. - มีการประชุม MCH Board, สายใยรักแห่งครอบครัว, คกก.แผนสุขภาพ - จัดทำแบบเก็บข้อมูล ร่วมกับผู้รับผิดชอบ 5 กลุ่มวัย - วิเคราะห์ปัญหา สาเหตุที่ไม่มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ นำเสนอ MCH Board - อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาระบบประมวลผลและนำเสนอข้อมูลโดยใช้ iAnalysisและเผยแพร่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และรพสต. - จัดทำโครงการพัฒนาระบบฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย - ดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก (อบรม อสม./ประสาน รพสต.ตรวจ UPT) - รณรงค์ฝากครรภ์เชิงรุกในชุมชน, ประชาสัมพันธ์นโยบาย “ฝากท้องทุกที่ฟรีทุกสิทธิ์”

  4. ปัญหาอุปสรรค - ด้านงบประมาณ : เงินงบประมาณโอนไตรมาสสุดท้าย ทำให้ดำเนินงานไม่ทัน - ด้านบุคลากร : จนท.ไม่บันทึกการให้บริการ, ผู้รับผิดชอบ รพสต.ไม่ชัดเจน - ด้านวัสดุ/อุปกรณ์ : การบันทึกข้อมูลจากโปรแกรมที่สถานบริการใช้, ปัญหาการส่งออกข้อมูล - ด้านบริการและประสานงาน : ขาดการเชื่อมโยงระหว่าง รพ. สสอ. รพสต. และสสจ. , การประสานขอความร่วมมือภายในรพ.และนอก รพ. หลายขั้นตอน, การเสนออนุมัติโครงการ ผู้เกี่ยวข้องหลายหน่วยงาน แนวทางแก้ไข - มีการจัดทำแผน เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จาก สสจ. - พัฒนาระบบข้อมูล โปรแกรมที่สถานบริการใช้ - ส่งเสริมการฝากครรภ์เชิงรุก ใน รพ.สต. 10 แห่ง ที่มีแพทย์ออกตรวจ (ยา triferdine) - ประชาสัมพันธ์เชิงรุกในโรงงาน

  5. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 91.01 ปัญหาอุปสรรค์ - เกณฑ์การให้คะแนนไม่ตรงกับ สสจ. แนวทางแก้ไข - ปรับเกณฑ์คะแนนให้ตรงกับ PM สสจ.

  6. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - ชั่งนน.เทียบส่วนสูง เด็กอายุ 6-12 ปี ร้อยละ 90 / เขตเทศบาล 100% - รร.ในเขตเทศบาล มีรายงานคัดกรองการเจริญเติบโต แยกกลุ่มเสี่ยง - นักเรียนกลุ่มเสี่ยง (อ้วน) ได้รับการแก้ไข 1) ตรวจ นร.โดย จนท.สาธารณสุข 2) อบรมผู้นำเยาวชน (ยสร.) ในชั้นมัธยม, อบรมอาสาสมัคร นร. (อสร. ในชั้นประถม) - โครงการพัฒนาการป้องกันและคบคุมโรค ทุกกลุ่มวัย งบประมาณ 70,100 บาท ได้รับอนุมัติ เดือน กันยายน - ภาวะเด็กอ้วนลดลง 0.5 ต่อปี

  7. ปัญหาอุปสรรค - นร.มีจำนวนมาก ผู้รับผิดชอบบันทึกข้อมูลมีหายภาระงาน - รพ.ไม่มีคลินิก DPAC ที่เป็นรูปธรรม แนวทางแก้ไข - ดำเนินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเด็กวัยเรียน เพิ่มในภาคการเรียนที่ 2 ให้ครบ 100% - ส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วม

  8. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - มีคณะกรรมการ - โครงการอยู่ระหว่างดำเนินการ 2 โครงการ (สร้างแกนนำวัยรุ่น, เยาวชนใน รร.) - อัตราป่วยทางเพศสัมพันธ์ลดลงจากปี 55 ร้อยละ 0.29 - อัตราคลอดมารดา อายุ 15-19 ปี ได้ร้อยละ 36.69 ต่อแสนประชากร

  9. ปัญหาอุปสรรค - คณะทำงานชุดใหม่ ขาดขวัญกำลังใจ - ขาดฐานข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย - ไม่ผ่านมาตรฐาน การดำเนินงานไม่ชัดเจน - เปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบใหม่ไม่มีความรู้ในการทำงาน - คณะทำงานขาดความตระหนัก แนวทางแก้ไข - พัฒนา การดำเนินงาน,เครือข่าย,ศักยภาพบุคลากร, ฐานข้อมูลวัยรุ่น, รูปแบบการเก็บข้อมูลที่ชัดจน, คณะกรรมการ, การประสานข้อมูล รพสต.

  10. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - ผลงานคัดกรองเบาหวาน ได้ 100,500/148,500 คน ร้อยละ 67.54 - ผลงานคัดกรองความดันโลหิตสูง 100,500/145,371 คน ร้อยละ 67.54 ปัญหาอุปสรรค - การกำหนดเป้าหมายจาก DBPOP มากเกินจริง (หน่วยบริการไม่ได้ตรวจสอบรายชื่อ, ไม่มีการ Clearing ข้อมูลประชากร, ไม่มีข้อมูลโรคประจำในแฟ้ม, สิทธิ UC แต่ตัวไมอยู่จริง) - การนับผลงานจาก NCDSCREEN เป็นประชากรกลุ่มเป้าหมาย (มีชื่อหาตัวไม่เจอ, กลุ่มเป้าหมาย เป็นวัยเรียน วัยทำงาน, ไม่มีการตรวจสอบข้อมูลหลังบันทึก)

  11. - ข้อมูลซ้ำซ้อนกับ สปสช. (21 แฟ้ม) - สถานบริการ ไม่ได้ทำการคัดกรอง - ขาดการนิเทศ ติดตาม - ให้ อสม.สำรวจข้อมูล - ประชากรเป้าหมาย อยู่ในกลุ่มวัยเรียน (ไม่อยู่ในพื้นที่ด้วย) แนวทางแก้ไข - ตรวจสอบชื่อก่อนยอมรับเป้าหมาย ต้นปี, Update ข้อมูลประชากรทุกปี - ตรวจสอบข้อมูลก่อนส่งข้อมูล, ลงข้อมูลทันที - หน่วยบริการที่ผลงานไม่ผ่าน เร่งทำการคัดกรอง - รวมคน รวมงาน ทำงานเป็นโซน (จนท.ไม่เพียงพอ, งานล้น) - รายงานข้อมูลในวาระประชุม Cup Board - คัดกรองในโรงเรียน, โรงงาน, สถานประกอบการ

  12. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 30.58 (787/2573 คน) ปัญหาอุปสรรค - การจัดสรรงบประมาณล่าช้า - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้องมีความต่อเนื่อง แนวทางแก้ไข - เสนอของบประมาณจากกองทุนสุขภาพท้องถิ่น - เร่งดำเนินการเก็บข้อมูล

  13. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ร้อยละ 38.05 ปัญหาอุปสรรค - ระบบการให้บริการผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในคลินิกNCD ยังไม่ชัดเจน - ผู้ป่วยมีจำนวนมาก การรายงานตัวเลขข้อมูล จากระบบสารสนเทศยังมีความคลาดเคลื่อนสูง แนวทางแก้ไข - ประชุม - การนิเทศงานจากผู้มีความเชี่ยวชาญด้านระบบสารสนเทศ/หัวหน้างาน

  14. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล

  15. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานเข้าจอประสาทตา ร้อยละ 44.06 ปัญหาอุปสรรค - การคัดกรองตาในผู้ป่วยเบาหวาน มีการส่งผู้ป่วยไปห้องตรวจตาน้อย 1) งานล้น ละเลยการแนะนำ/นัดผู้ป่วยตรวจตา 2) แนะนำแล้วผู้ป่วยไม่ไปตรวจตา แนวทางแก้ไข - ทำโครงการจ้างเหมารถรับ-ส่ง

  16. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน ในเขตเทศบาล คัดกรองได้ 6,652 (อายุ 30 ปีขึ้นไป) ได้ร้อยละ 55.94 (DBPOP 11,891) ปัญหาอุปสรรค - ประชากรเคลื่อนย้ายบ่อยและบางครั้งคัดกรองแล้วไม่ได้บันทึกข้อมูล - การกำหนดเป้าหมายจาก DBPOP มากเกินจริง แนวทางแก้ไข - บันทึกข้อมูลทุกครั้ง ที่มีการคัดกรองทั้งเชิงรุก และเชิงรับที่ OPD โรงพยาบาลด้วย

  17. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - ตรวจคัดกรองทั้งหมด 1,702 ราย เป็นผู้รับบริการ อายุ 30-60 ปี 1,129 ราย (ยอดเฉพาะมาตรวจที่ รพ.) ปัญหาอุปสรรค - ผู้คัดกรองส่วนใหญ่เป็นรายเก่า หรือไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย แนวทางแก้ไข - รพสต.+ศสม. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้รับการตรวจ - ใช้ระบบนัดตรวจ เพื่อลดระยะเวลารอคอยผู้ป่วย (กรณีตรวจที่ รพ.)

  18. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรอง ซึมเศร้า ข้อเข่าเสื่อม สุขภาพช่องปาก ระดับ 2.4 (ร้อยละ 48) - ADL ระดับ 2.4 (ร้อยละ 61.36) ปัญหาอุปสรรค์ - การกำหนดเป้าหมายจาก DB POPเป้าหมายตาม DB POP มากเกินจริง - ผู้ปฏิบัติให้ความสำคัญน้อยและ ขาดการนิเทศติดตาม แนวทางแก้ไข - จัดตั้งศูนย์ข้อมูล - เป็น MOU ใช้ประเมินความดีความชอบ

  19. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล

  20. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล • ผลการดำเนินงาน • - • ปัญหาอุปสรรค • -ประชากรทั้งหมดที่ใช้ในการคำนวณมาจากจำนวนเด็กทั้งหมด (ข้อมูลทะเบียนราษฎร์) • (ประมาณ 5,466 คน) แต่จริงแล้วข้อมูลที่ต้องนำมาคำนวณ คือ ข้อมูล DBPop(ประมาณ 2,740 คน) • เด็กส่วนหนึ่งไม่ได้มารับวัคซีนที่รพ.หรือในรพ.สต แต่ไปรับบริการที่คลินิก หรือรพ.เอกชน • แนวทางแก้ไข • - นำข้อมูลจาก DBPop มาคำนวณผลการปฏิบัติงานแทน • - ให้บริการเชิงรุกให้มากขึ้น

  21. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล • ผลการดำเนินงาน • - • ปัญหาอุปสรรค • - ประชากรทั้งหมดที่ใช้ในการคำนวณมาจากจำนวนเด็กทั้งหมด (ข้อมูลทะเบียนราษฎร์) • (ประมาณ 5,466 คน) แต่จริงแล้วข้อมูลที่ต้องนำมาคำนวณ คือ ข้อมูล DBPop(ประมาณ 2,740 คน) • เด็กส่วนหนึ่งไม่ได้มารับวัคซีนที่รพ.หรือในรพ.สต แต่ไปรับบริการที่คลินิก หรือรพ.เอกชน • แนวทางแก้ไข • - นำข้อมูลจาก DBPop มาคำนวณผลการปฏิบัติงานแทน • - ให้บริการเชิงรุกให้มากขึ้น

  22. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล • ผลการดำเนินงาน • - • ปัญหาอุปสรรค์ • - ที่ผ่านมา ใน รพ.สต ที่ไม่มีทันตาภิบาลยังไม่ได้มีการเคลือบฟลูออไรด์ • เริ่มมีการอบรม และใช้ฟลูออไรด์ในเด็กเมื่อเดือน กรกฎาคม 2557 ที่ผ่านมา • เกิดปัญหาเด็กเสียชีวิตในวันที่มาฉีดวัคซีนและได้รับการเคลือบฟลูออไรด์ • ทำให้เจ้าหน้าที่เกิดความไม่มั่นใจในการใช้ฟลูออไรด์ในเด็ก

  23. แนวทางแก้ไข - Empowerment เจ้าหน้าที่ รพ.สต ถึงเรื่องการใช้ฟลูออไรด์ในเด็กเล็ก อาจลอง Empower โดยทันตแพทย์ในกลุ่มงานทันตกรรม หากไม่ดีขึ้นอาจต้องใช้บุคลากรจากภายนอก - อาจต้องให้เจ้าหน้าที่จากกลุ่มงานทันตกรรมเวียนไปที่ รพ.สต เพื่อดูการปฏิบัติงานจริง ทำให้เจ้าหน้าที่ใน รพ.สต เกิดความมั่นใจเพิ่มมากขึ้น

  24. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน ภาพรวม ทั้งหมด 5 หมวด ได้ ร้อยละ 86.3 ปัญหาอุปสรรค การรายงานเฝ้าระวังโรคของเครือข่าย รพ.สต.ไม่คลอบคลุม และไม่ทันเวลา ไม่มีการบันทึกข้อมูลแจ้งข่าวในโปรแกรมออนไลน์ จากเครือข่าย รพ.สต. แนวทางแก้ไข การควบคุม กำกับ ติดตาม จากผู้รับผิดชอบงาน เพิ่มการนิเทศงานของ คปสอ.

  25. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล

  26. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล • ผลการดำเนินงาน • - ผู้ป่วยทั้งหมด 82 ราย รักษาสำเร็จ 75 ราย ร้อยละ 91.46 • เสียชีวิต 4 ราย ร้อยละ 4.88 , • ขาดยา 14 ราย ร้อยละ 1.22 • ล้มเหลว 2 ราย ร้อยละ 2.44 • ปัญหาอุปสรรค์ • - เสียชีวิตเป็นผู้สูงอายุ มากกว่า 70 ปี ทั้งหมด และมีโรคประจำตัว ร้อยละ 50 • - ล้มเหลวเป็น MDR – TB ดื้อต่อยา INH และ Rifam • แนวทางแก้ไข • - เน้นการคัดกรองค้นหาวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง DM , HIV และผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมทั้งใน รพ.และในชุมชน เพื่อรักษาในระยะเริ่มแรก • - เน้นการดูแลการทำ DOT ให้เข้มข้นขึ้น ทั้งใน รพ. และในชุมชน

  27. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - ปี 2557 ร้อยละ 85 - มีการประชุม จนท. สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ปัญหาอุปสรรค - แนวทางแก้ไข - เพิ่มความรู้ สมรรถนะ จนท. - เพิ่มการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง - ส่งเสริมการตรวจสุขภาพ

  28. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล

  29. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน - ภาพรวมทั้งอำเภอไม่ผ่านเกณฑ์ - เฉพาะส่วนที่ รพ.ดำเนินการ ในเขต ตำบลบ้านโป่ง ได้ ร้อยละ 94.38 โดยทั้งหมด ร้านอาหาร 534 ร้าน ตรวจประเมินได้ 504 ร้าน ปัญหาอุปสรรค - ร้านอาหารส่วนใหญ่ขายนอกเวลาราชการ เช้า - สาย , เย็น - กลางคืน - แผงลอยมีเปลี่ยนผู้ประกอบการบ่อยทำให้ภาระงานมากขึ้น แนวทางแก้ไข - ปรับเวลาปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน - ประสานให้ อปท. มีส่วนร่วมดำเนินการ และสนับสนุนงบประมาณ

  30. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล NA ผลการดำเนินงาน - - ปัญหาอุปสรรค - - แนวทางแก้ไข - -

  31. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล ผลการดำเนินงาน 1.การจัดซื้อยาปี 2557 (10 เดือน ) เทียบปี 2556 (10 เดือน ) เพิ่มขึ้น 9.95 % 2.การจัดซื้อเวชภัณฑ์ปี 2557 (10 เดือน ) เทียบปี 2556 (10 เดือน ) ลดลง 0.90 % 3.การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ปี 2557 (10 เดือน ) เทียบปี 2556 (10 เดือน ) รวมเพิ่มขึ้น 5.64 % 4.การจัดซื้อยาร่วม ปี2557(10 เดือน ) 7.36 % 5.การจัดซื้อเวชภัณฑ์ร่วม ปี2557 (10 เดือน ) 0 % 6.การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ร่วม ปี2557 (10 เดือน ) 4.61 %

  32. ปัญหาอุปสรรค - มีการลดมูลค่าการจัดซื้อยามาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 52 การลดมูลค่าการจัดซื้อยาลงอีก 10% โดยใช้มาตรการควบคุมการซื้ออย่างเดียว ทำได้ยาก ต้องใช้มาตรการควบคุมการสั่งใช้ด้วยจึงจะได้ผล - ในปี 57 มีการซื้อทดแทนการผลิตยา เนื่องจากไม่มีขวดแก้วบรรจุยา ในยา 2 รายการ คือ Sterile water for Irrigation 203,000 บาท / Sterile water for Injection 243,000 บาท รวม 446,000 บาท - มีการเปิด PCU เมือง 1 แห่ง เดือนเมษายน 56 - ได้รับสนับสนุนยาน้อยลง ต้องจัดซื้อเองเพิ่ม ในปี 57 - จัดซื้อยาร่วมจังหวัด ดำเนินการยังไม่แล้วเสร็จ กำลังดำเนินการ 33 รายการ - ยังไม่มีข้อมูลรายงาน จัดซื้อยาร่วมทันตกรรม และวัสดุวิทยาศาสตร์

  33. แนวทางแก้ไข - มีนโยบาย Generic substitudeเพื่อลดมูลค่าการใช้ยา - ใช้กรมบัญชีกลาง ในการประเมินความเหมาะสมการใช้ยานอกบัญชี - ลดมูลค่าคงคลัง รพ./รพสต. - การจัดซื้อยา ดำเนินการภายใต้มติของคณะกรรมการ ในการคัดเลือกบริษัทยา

  34. 1.1 มิติด้านประสิทธิผล

  35. 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ผลการดำเนินงาน - ปี 2556 ร้อยละ 5.67 - ปี 2556 ร้อยละ 6.26 - ปี 2557 (ต.ค. 56 – ส.ค. 57) ร้อยละ 6.87 ปัญหาอุปสรรค - แพทย์แผนปัจจุบัน ยังไม่สนับสนุนการใช้ยาสมุนไพรเท่าที่ควร - บัญชียาสมุนไพรของโรงพยาบาล มีจำนวนน้อย แนวทางแก้ไข - สร้างนโยบายระดับกระทรวง มอบสู่ผู้ปฏิบัติที่แท้จริงโดยตรง - กำหนดเป็นตัวชี้วัด ที่เป็นไปได้ - กำหนดแผนกลยุทธ์ของกระทรวง เขต จังหวัด

  36. 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ผลการดำเนินงาน - ผ่านการรับรอง 26 กันยายน 2557 -25 กันยายน 2557 ขั้น 3 ปัญหาอุปสรรค - แนวทางแก้ไข - พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง - กำหนด Re-ตามเวลาที่ประสานกับ สรพ.

  37. 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ NA ผลการดำเนินงาน - - ปัญหาอุปสรรค - - แนวทางแก้ไข - -

  38. 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ผลการดำเนินงาน - รพ.ผ่านการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์ 2551 จึงได้ระดับ 3 ปัญหาอุปสรรค - จะมีการ Re Accredit ภายใน 4 สิงหาคม 2558 ถึงจะได้ระดับ 4 แนวทางแก้ไข - รอ Re Accredit

  39. 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ

  40. 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ผลการดำเนินงาน - ความพึงพอใจผู้รับบริการ ครั้งที่ 1/2557 ภาพรวม 31 หน่วยงาน 798 รายร้อยละ 83.1 ผู้ป่วยนอก 17 หน่วยงาน 499 ราย คิดเป็นร้อยละ 80.41 ปัญหาอุปสรรค - จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม เมื่อใช้สูตร ยามาเน่ มีจำนวนน้อยเกินไป เทียบกับผู้รับบริการผู้ป่วยนอกทั้งหมด - ในวันที่ผู้รับบริการจำนวนมาก จนท.มีภาระงานมาก ทำให้บางครั้ง เก็บข้อมูลช่วงวันที่มีผู้รับบริการน้อย ควรใช้วิธีสุ่มวัน เพื่อลดความคลาดเคลื่อน - บุคลากรไม่เพียงพอ ทำให้บันทึกและแปรผลข้อมูลล่าช้า

  41. แนวทางแก้ไข - เพิ่มจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม - ควรใช้วิธีสุ่มวัน เพื่อลดความคลาดเคลื่อน - หลังแปรผลข้อมูล ควรมีการประชุมหัวหน้าหน่วยงานด่านหน้า เพื่อหาวิธีการแก้ไขจุดอ่อน เพื่อหาแนวทางทำให้ผลการประเมินในรอบต่อไปสูงขึ้น เช่น ขั้นตอนการลดระยะเวลารอคอยผู้ป่วยนอก

  42. 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ผลการดำเนินงาน - ระบบสนับสนุน 5 ด้าน IC Refer ยาและเวชภัณฑ์ LAB และระบบทีมที่ปรึกษาคปสอ.บ้านโป่งมีครบ ปัญหาอุปสรรค - กรรมการระดับจังหวัดมีข้อตกลงในที่ประชุม ถ้าพบ ยา/ของ sterile หมดอายุ จะปรับเป็นศูนย์ คะแนน และทีมประเมินจาก สสจ.สุ่มตรวจ 2 แห่ง คือ - รพ.สต.บ้านครก ให้ระดับคะแนน = 4 - รพ.สต. คุ้งพะยอม ให้ระดับคะแนน = 0 แนวทางแก้ไข - หามาตรการณ์แก้ไขในการประชุมcupboard /PM

  43. 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ผลการดำเนินงาน - เดือนตุลาคม 56 – มิถุนายน 57 ลดการส่งต่อเท่ากับ 29.57 ปัญหาอุปสรรค - ขาดการจัดทำคู่มือ เกณฑ์การส่งต่อของผู้ป่วยแต่ละสาขา - ไม่ได้รับการตอบกลับจากโรงพยาบาลปลายทาง เพื่อนำมาทบทวน แนวทางแก้ไข - นำผลงานแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ เพื่อร่วมกันแก้ไข

  44. 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ผลการดำเนินงาน - ดำเนินการตรวจสอบการบันทึกเวชระเบียน ก่อนส่งข้อมูล ตั้งแต่ มกราคม 57 เป็นต้นไป ทำให้ค่า CMI เพิ่มขึ้น - CMI เทียบกับปี 56 เพิ่มขึ้น 7.09% ในปี 57 (ก.ค.57) ปัญหาอุปสรรค - การบันทึกการวินิจฉัยโรค ผ่าตัด หัตการ ไม่ครบถ้วน - ผู้ป่วยที่มีความรุนแรง และ CMI สูง เช่น หัวใจ มะเร็ง พิการแต่กำเนิด จะส่งต่อไปยัง รพ.ที่มีศักยภาพสูงกว่า - ผู้ป่วยบางส่วนมีการสั่ง Admit จาก ER เช่น False Labour pain จะไม่ผ่านห้องคลอด ก่อน admit

  45. แนวทางแก้ไข - เสนอผู้บริหาร - จัดทำข้อมูลผลการปฏิบัติงาน CMI รายบุคคล เปรียบเทียบภายในกลุ่มงาน ให้ผู้บริหารและติดบอร์ดที่องค์กรแพทย์ เพื่อสร้างความตระหนัก - องค์กรแพทย์ได้กำหนดแนวปฏิบัติ ดังนี้ 1) ผู้ป่วยส่งต่อ ขอใบส่งต่อเพื่อรักษาต่อเนื่อง ให้แพทย์เจ้าของแผนกเขียน 2) ผู้ป่วยรับการตรวจที่อื่น + ขอใบส่งต่อ ให้แพทย์เฉพาะทางพิจารณา หากตกลงไม่ได้ ผอก.ฝ่ายการแพทย์พิจารณา 3) การแจ้งผลตอบกลับใบส่งต่อ มอบเลขสำนักงานแพทย์ เพื่อแจ้งแพทย์ผู้รักษาทราบ และส่งต่องานห้องบัตร เก็บเป็นข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วยนอก

  46. 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ

  47. 1.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ผลการดำเนินงาน - จำนวนข้อร้องเรียน 141 เรื่อง / ปิด 127 เรื่อง ยังไม่ได้ปิด 14 เรื่อง ปัญหาอุปสรรค - การตอบสนอง/การแก้ไข คุณภาพบริการล่าช้า แนวทางแก้ไข - พัฒนาศักยภาพหัวหน้าหน่วยงานในการจัดการความขัดแย้งเชิงรุก

  48. 2.1 มิติด้านประสิทธิภาพ

  49. 2.2 มิติด้านพัฒนาองค์กร ผลการดำเนินงาน - มีคำสั่งคณะกรรมการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล - มีการทำรายงานผลการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลัง - มีการจัดทำแผนอัตรากำลังผู้เกษียณแต่ละปี - มีการมอบหมายให้แพทย์ ออกไปปฏิบัติหน้าที่ ในหน่วยบริการปฐมภูมิ - มีการจัดเจ้าหน้าที่ช่วย ที่ รพสต. ปัญหาอุปสรรค - จนท.ที่จัดลงไป รพสต.ไม่เพียงพอ - ส่งข้อมูลอัตรากำลังล่าช้า ไม่ตรงกำหนด แนวทางแก้ไข - จัดทำข้อมูลอัตรากำลังให้เป็นปัจจุบัน ส่งตามเวลาที่กำหนด

  50. 2.2 มิติด้านพัฒนาองค์กร ผลการดำเนินงาน - ปัญหาอุปสรรค - จำนวน โครงการตามแผน มีจำนวนมาก (62 โครงการ 15 แผนรวมทันตกรรม วงเงิน 7,069,680 บาท) - ขาดความชัดเจนเรื่องเงินงบประมาณในการจัดทำโครงการ - การโอนเงินงบประมาณจาก สสจ.ล่าช้า ทำให้จัดโครงการไม่ทัน แนวทางแก้ไข - คกก.พิจารณา โครงการก่อนทำแผนสุขภาพ คปสอ. และพิจารณาตามความจำเป็นของพื้นที่ - ความชัดเจนเรื่องเงินงบประมาณ

More Related