250 likes | 420 Views
Pathogenesis. ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว. ไวรัสก่อโรคทางเดินหายใจ. ระบบทางเดินหายใจแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนบน (upper respiratory tract) โพรงจมูก คอหอย กล่องเสียง ส่วนล่าง (lower respiratory tract) หลอดลม ถุงลม ปอด. อาการหลังการติดเชื้อ. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
E N D
Pathogenesis ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว
ไวรัสก่อโรคทางเดินหายใจไวรัสก่อโรคทางเดินหายใจ ระบบทางเดินหายใจแบ่งเป็น 2 ส่วน • ส่วนบน (upper respiratory tract) โพรงจมูก คอหอย กล่องเสียง • ส่วนล่าง (lower respiratory tract) หลอดลม ถุงลม ปอด
อาการหลังการติดเชื้อ • โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน หวัด (common cold) มีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก คออักเสบ (pharyngitis) ต่อมทอนซิลอักเสบ (tonsillitis) • โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง หลอดลมอักเสบ (bronchitis) ปอดอักเสบ (pneumonitis) ปอดบวม (pneumonia)
Influenza virus • ไวรัสก่อโรคไข้หวัดใหญ่ • Family Orthomyxoviridae • กรดนิวคลีอิคเป็น RNA , มี envelope • มีการระบาดเกิดขึ้นบ่อยเนื่องจาก genetic recombination
เกณฑ์การตั้งชื่อเนื่องจากมีเชื้อตัวใหม่ตลอดเวลาเกณฑ์การตั้งชื่อเนื่องจากมีเชื้อตัวใหม่ตลอดเวลา 1. Type 2.ชนิดของสัตว์ที่แยกเชื้อได้ ถ้าแยกจากคนไม่ต้องบอก 3. สถานที่ที่แยกเชื้อได้ 4. ลำดับของเชื้อที่แยกได้ในปีนั้น 5. ปี ค.ศ. ที่แยกเชื้อไวรัสได้ 6. ถ้าเป็น type A ต้องบอก subtype H, N Ex. A/Bangkok/1/79 (H3N2)
การติดต่อและพยาธิกำเนิดการติดต่อและพยาธิกำเนิด • ไวรัสเข้าสู่ร่างกายโดยหายใจเอาเชื้อจากอากาศ ละอองน้ำมูก น้ำลาย • ไวรัสทำให้ความหนืดของเมือกบริเวณทางเดินหายใจลดลง ทำให้ไวรัสเข้าสู่เซลล์ได้ • อาการของโรค มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ มีน้ำมูก เจ็บคอ คออักเสบ หลอดลมอักเสบ
Rhinovirus • ไวรัสก่อโรคไข้หวัดธรรมดา (common cold) • Family Picornaviridae Genus Rhinovirus • กรดนิวคลีอิคเป็น RNA , icosahedral capsid
การติดต่อและพยาธิกำเนิดการติดต่อและพยาธิกำเนิด • ติดต่อทางการหายใจ สัมผัสโดยตรงกับเยื่อเมือกบุทางเดินหายใจ • ไวรัสเพิ่มจำนวนในเซลล์เยื่อบุจมูก • อาการคัดจมูก มีน้ำมูก จาม เจ็บคอ ปวดศีรษะ ไอโดยไม่มีไข้ อาจมีอาการปอดบวม หรือหลอดลมอักเสบ
ไวรัสก่อโรคอุจจาระร่วงไวรัสก่อโรคอุจจาระร่วง Rotavirus • Family Reoviridae, Genus Rotavirus • กรดนิวคลีอิคเป็น RNA , icosahedral capsid • Capsid เรียงตัวเป็น 2 ชั้น คล้ายซี่ล้อเกวียน (rota)
การติดต่อและพยาธิกำเนิดการติดต่อและพยาธิกำเนิด • ติดต่อโดยกินอาหารที่ปนปื้อนเชื้อ ติดต่อในครอบครัว หรือในกลุ่มเด็กเล็กตามโรงเรียน สถานรับเลี้ยงเด็ก • ไวรัสมีความทนทานในสภาวะแวดล้อม • ไวรัสเพิ่มจำนวนในเซลล์บุภายในลำไส้เล็ก โดยจำเพาะต่อเซลล์ส่วนปลาย villus • การย่อย ดูดซึมอาหารเสียไป เกิดลำไส้อักเสบ อุจจาระร่วง • พบในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบ • ระบาดในเดือนที่ฝนเริ่มตก เพิ่มสูงสุดในเดือน ธ.ค.- ม.ค.
อาการของโรค • มีไข้ อาเจียนเนื่องจากลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง • อุจจาระร่วงประมาณ 2-5 วันมีลักษณะเป็นน้ำ • รุนแรงมากอาจทำให้ร่างกายเสียน้ำ (dehydration) เกิดภาวะเสียสมดุลของ electrolyte
ไวรัสก่อโรคตับอักเสบ • แบ่งเป็น 2 กลุ่มตามวิธีการติดต่อ 1.ทางการกินอาหาร หรือน้ำที่ปนเปื้อนด้วยอุจจาระ ที่มีเชื้อ - HAV, HEV ก่อให้เกิดการติดเชื้อแบบเฉียบพลัน 2. ทางเลือด หรือเข็มฉีดยา ทางเพศสัมพันธ์ จากมารดาไปสู่ทารก - HBV, HCV, HDV ก่อให้เกิดการติดเชื้อแบบ เฉียบพลัน และเรื้อรัง
Hepatitis A virus (HAV) • Family Picornaviridae, Genus Hepatovirus • กรดนิวคลีอิคเป็น RNA , icosahedral capsid • เข้าสู่ร่างกายโดยการกิน ไวรัสเพิ่มจำนวนในเซลล์เยื่อบุผิวในลำไส้ ก่อนเข้าสู่กระแสเลือด และก่อการติดเชื้อในเซลล์ตับ • ระยะฟักตัว 2-4 สัปดาห์ • การติดเชื้อมักไม่แสดงอาการ บางรายมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ต่อมาพบอาการดีซ่าน ตัวเหลือง ตาเหลือง เนื่องจากตับอักเสบ • จะหายเป็นปกติใน 3-8 สัปดาห์ ไม่เป็นพาหะเรื้อร้ง
Hepatitis B virus (HBV) • Family Hepadnaviridae Genus Orthohepadnavirus • กรดนิวคลีอิคเป็น DNA , icosahedral capsid มี envelope • ผิวนอกประกอบด้วยโปรตีน hepatitis B surface Ag (HBsAg) บน envelope • โปรตีนส่วน nucleocapsid เรียกว่า hepatitis B core antigen (HBcAg) • โปรตีนที่สลายจาก HBcAg เรียกว่า HBeAg
การติดต่อและพยาธิกำเนิดการติดต่อและพยาธิกำเนิด • ติดต่อทางการรับเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด เพศสัมพันธ์ จากมารดาสู่ทารก • เชื้อมีความทนทานที่อุณหภูมิห้อง อยู่ได้นานถึง 6 เดือน • ในซีรัมพบอนุภาค 3 แบบ - ขนาด 42 nm (Dane particle) HBsAg - ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 nm - อนุภาครูปแท่ง
อาการของโรค • ไม่แสดงอาการ • อาการตับอักเสบเฉียบพลัน มีไข้ เบื่ออาหาร วิงเวียน และมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง - เมื่อหายจะตรวจพบ anti-HBs - หรืออาจมีอาการตับอักเสบรุนแรง ถึงขั้นเสียชีวิต • พาหะเรื้อร้ง ตรวจพบ HBsAg นานเกิน 6 เดือน - เป็นพาหะที่ไม่แสดงอาการ - เกิดอาการตับอักเสบเรื้อรัง มะเร็งตับ
Hepatitis D virus (HDV) • เป็น defective virus • กรดนิวคลีอิคเป็น RNA , capsid ไม่ชัดเจน มี envelope ที่ได้จาก HBV
การติดเชื้อ แบ่งเป็น 2 รูปแบบ • Coinfection การติดเชื้อ HBV ร่วมกับ HDV ในครั้งแรก ทำให้โอกาสเกิดตับวายสูง • Superinfection การติดเชื้อ HDV ในคนที่เป็นพาหะ HBV เกิดอาการตับอักเสบรุนแรง อาจเสียชีวิตจากภาวะตับวาย
Hepatitis C virus (HCV) • Family Flaviviridae • กรดนิวคลีอิคเป็น RNA , icosahedral capsid มี envelope • ศึกษาจาก HCV gene เนื่องจากแยกอนุภาคไวรัสไม่ได้ serum จากผู้ป่วยฉีดในลิงชิมแปนซี สกัด viral RNA complementary DNA (cDNA) นำไป clone ใน expression vector
HCV gene • Structural gene (1/3-1/4 ของ genome) สร้าง core (nucleocapsid protein), envelope protein (E1, E2) • Nonstructural gene (2/3-3/4 ของ genome) สร้างโปรตีน เอนไซม์ในการเพิ่มจำนวนของไวรัส • Non-coding region 5’ , 3 ’untranslated region ควบคุมการทำงานของยีนต่างๆ การติดต่อและพยาธิกำเนิด • ติดต่อทางเลือด ผลิตภัณฑ์จากเลือด • เกิดอาการตับอักเสบ ตับอักเสบเรื้อรัง มะเร็งตับ
Hepatitis E virus (HEV) • Family Caliciviridae • กรดนิวคลีอิคเป็น RNA , icosahedral capsid • เข้าสู่ร่างกายทางการกิน ระยะฟักตัว 2-9 สัปดาห์ เพิ่มจำนวนในเซลล์ตับ ทำให้ตับอักเสบ เกิดอาการเหลือง • การติดเชื้อไม่เกิดภาวะเรื้อรังหรือเป็นพาหะ ไม่ทำให้เป็นโรคตับแข็ง หรือมะเร็งตับ
Hepatitis G virus (HGV) • ค้นพบโดย Genelabs Technologies ในปี 1995 • Family Flaviviridaeกรดนิวคลีอิคเป็น RNA • ติดต่อทางเลือด เกิดตับอักเสบเรื้อรัง GB agents (GBV-A, GBV-B, GBV-C) • ค้นพบโดย Abbott Laboratories ในปี 1995 • Family Flaviviridae กรดนิวคลีอิคเป็น RNA • ติดต่อทางเลือด