360 likes | 589 Views
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดนครราชสีมา. จีน. Global Reach. Local Link. E-saan Gateway. เชียงราย. ลาว. พม่า. เชียงใหม่. หนองคาย. เวียตนาม. มุกดาหาร. ลาว. อุบลราชธานี. สุรินทร์. กรุงเทพฯ. กัมพูชา. แหลมฉบัง. ภาคใต้. วิสัยทัศน์จังหวัด ประตูสู่อีสาน
E N D
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดนครราชสีมา
จีน Global Reach Local Link E-saan Gateway เชียงราย ลาว พม่า เชียงใหม่ หนองคาย เวียตนาม มุกดาหาร ลาว อุบลราชธานี สุรินทร์ กรุงเทพฯ กัมพูชา แหลมฉบัง ภาคใต้
วิสัยทัศน์จังหวัด ประตูสู่อีสาน ศูนย์กลางการผลิตสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม ผ้าไหม และการท่องเที่ยว
ค่านิยมจังหวัดนครราชสีมาค่านิยมจังหวัดนครราชสีมา มีจิตบริการ เน้นการทำงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
เป้าประสงค์หลัก 1. เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของการพัฒนาจังหวัดสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรของภาค 2. เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของการพัฒนาจังหวัดสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตอุตสาหกรรมผ้าไหมของภาค 3. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของการพัฒนาจังหวัดสู่การเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภาค
จุดแข็ง - เป็นประตูสู่อีสานยุทธศาสตร์ที่ตั้งเหมาะสมและเป็นศูนย์รวม ของการขนส่งมวลชนและการขนส่งเชิงพาณิชย์ (Mass transportation) - เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่และเหมาะสมกับการทำเกษตรกรรม หลายสาขา เช่น ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพด ฯลฯ - เป็นพื้นที่ที่มีชื่อเสียงทางการผลิตผลิตภัณฑ์ผ้าไหมส่งออกและ หัตถกรรม และOTOP - มีสถาบันการศึกษาและส่วนราชการที่มีศักยภาพพร้อมผลิต แรงงานที่มีฝีมือคุณภาพสูง
จุดแข็ง - มีประวัติศาสตร์ / วัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในการเป็นคนโคราช - มีศูนย์รวมจิตใจของชาวโคราช คือ ท่านท้าวสุรนารี (ย่าโม) และหลวงพ่อคูณ (วัดบ้านไร่) - มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่เป็นมรดกโลกที่ เขาใหญ่ และ แหล่งท่องเที่ยวที่มีอากาศบริสุทธิ์อันดับ 7 ของโลก ที่อำเภอวังน้ำเขียว - มีสนามกีฬามาตรฐานสามารถรองรับการจัดการแข่งขันกีฬา ในระดับชาติและนานาชาติ
จุดอ่อน - เป็นเส้นทางผ่านสู่ภาคอีสาน ระยะทางยาวมาก ส่งผลให้ เกิดอุบัติเหตุมาก - ขาดระบบเชื่อมต่อเข้าสู่ภาคการตลาดและอุตสาหกรรม - มีประชากรจำนวนมาก และขาดโอกาส ปัญหาแรงงาน ด้อยคุณภาพ - ประชนยังไม่เข้าใจสิทธิของตนเอง และชุมชน ประชาชน บางแหล่งขาดระเบียบวินัย
โอกาส - รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการค้าและการท่องเที่ยวกับประเทศ เพื่อนบ้านในภูมิภาคอินโดจีนและนโยบายเปิดตลาดการค้าเสรี - การได้รับการสนับสนุนให้เป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางราง (Mass Rapid Transit) - อยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุนด้านอุตสาหกรรม และมีการขยาย เขตอุตสาหกรรมเข้ามาในพื้นที่ - พื้นที่บางส่วนมีอากาศเย็นสามารถปลูกพืชเมืองหนาวได้ เช่น อำเภอวังน้ำเขียว อำเภอปากช่อง
ข้อจำกัด - ขาดการเชื่อมโยงโครงข่ายการท่องเที่ยวระหว่างจังหวัด และ ประเทศเพื่อนบ้าน - กระแสของวัฒนธรรมและเทคโนโลยีของโลกที่เข้ามา กระทบต่อวิถีการดำเนินชีวิตของประชาชน - ข้อจำกัดทางงบประมาณของรัฐไม่เอื้อต่อการส่งเสริมด้าน การค้า การตลาดในต่างประเทศ - ข้อจำกัดทางกฎหมายของภาครัฐยังไม่เอื้อต่อการค้าระหว่าง ประเทศ ( ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันสำปะหลัง) เช่น การคิดอัตราภาษีแอลกอฮอล์ในอัตราภาษีสุรา
ตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ (Strategic Position) เป็นศูนย์กลางการผลิตสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ไหม และการท่องเที่ยวของภาค
ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของความสำเร็จในการพัฒนาศักยภาพของจังหวัดสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรในระดับภาค 2. ร้อยละของความสำเร็จในการพัฒนาศักยภาพของจังหวัดสู่ การเป็นศูนย์กลางการผลิตอุตสาหกรรมผ้าไหมในระดับภาค 3. ร้อยละของความสำเร็จในการพัฒนาศักยภาพของจังหวัดสู่การเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวในระดับภาค
เป้าหมายการพัฒนา 1. เพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจที่สำคัญในปี 2556 -ข้าวนาปี มูลค่า 38,964ล้านบาท - มันสำปะหลัง มูลค่า 28,776 ล้านบาท 2. เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมผ้าไหมใน ปี 2556 = 3,395 ล้านบาท 3. เพิ่มมูลค่ารายได้การท่องเที่ยวในปี 2556 = 9,698 ล้านบาท
1.การพัฒนาการเกษตร 2.การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ไหม ประเด็น ยุทธศาสตร์ จังหวัด 3.การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว 4.การพัฒนาสังคมและแก้ปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชน 5.การบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
จุดแข็งและโอกาส ๑. มีผลผลิตข้าวสารหอมมะลิแปรรูป ๑.๒๖ ล้านตัน ๒. มีผลผลิตหัวมันสำปะหลังสด ๖ ล้านตัน ๓. มีโรงสีข้าว ๑๑๐ โรง แปรรูปส่งออก ๑๒ โรง - ส่งข้าวหอมมะลิแปรรูปจำหน่ายต่างประเทศ ๓ แสนตัน/ปี ๔.มีโรงงานแป้งมันสำปะหลังแปรรูปส่งออก ๑๙ โรง - ส่งแป้งมันแปรรูปจำหน่ายต่างประเทศ ๒ ล้านตัน
กลยุทธ์การพัฒนาการเกษตรกลยุทธ์การพัฒนาการเกษตร การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและจัดการสินค้าเกษตร การเพิ่มขีดความสามารถในการแปรรูปและตลาดสินค้าเกษตร การสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร การเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดสินค้าเกษตร
การพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ไหม
จุดแข็งและโอกาส1. เป็นแหล่งผลิตไหมไทยที่มีชื่อเสียง ระดับโลกที่รู้จักกันในนาม Thai Silk 2. การผลิตผ้าไหม มีความหลากหลาย มีเอกลักษณ์โดดเด่น แตกต่างกัน 3. การผลิตเส้นไหม การทอผ้าไหม การแปรรูปผลิตภัณฑ์ ยังคงเอกลักษณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ร่วมกับเทคโนโลยี ในการส่งผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ สู่ตลาดโลก
กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ไหม การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผลิตภัณฑ์ไหม การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ไหมให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน การยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ไหม ส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์ไหม
การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว
ไปนครราชสีมา สวนท้าวสุรนารี 96 ไร่ อ่างเก็บน้ำลำตะคอง ไปอ.ปากช่อง ไปกรุงเทพ
นักท่องเที่ยว ปีละ๒ล้านคน ศูนย์กลางเชื่อมโยงการตลาด และกระจายนักท่องเที่ยว ลาว พม่า เวียตนาม หนองคาย นครพนม ขอนแก่น ลาว กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ อุบลราชธานี บุรีรัมย์ นครราชสีมา สุรินทร์ กัมพูชา
เส้นทางท่องเที่ยวอารยธรรมขอมเส้นทางท่องเที่ยวอารยธรรมขอม เส้นทางพระเจ้าชัยวรมัน เส้นทางอารยธรรมขอม ปรางค์กู่ วัดภู พิมาย พนมรุ้ง เขาพระวิหาร สด๊กก๊อกธม นครวัด-นครธม
มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco-tourism) ที่เป็นมรดกโลก ได้แก่ เขาใหญ่ และ แหล่งท่องเที่ยวที่มีอากาศบริสุทธ์เป็นอันดับ 7 ของโลก ที่อำเภอวังน้ำเขียว จุดแข็งและโอกาส • เป็นจุดเชื่อมต่อการคมนาคมทางบกและเส้นทางผ่านของ นักท่องเที่ยวทางรถยนต์ 2. ความนิยมในการท่องเที่ยวในภูมิภาคนี้เพิ่มขึ้น • มีแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ประเพณีที่สามารถพัฒนา ศักยภาพได้ • มีแหล่งอารยธรรมหลายแห่งที่สามารถสร้างเรื่องราว เชื่อมโยงต่อกัน เป็นตำนานทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น เส้นทางพระเจ้าชัยวรมัน (Chaiworaman Discovery)
กลยุทธ์การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวกลยุทธ์การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว 1. พัฒนาสินค้าทางการท่องเที่ยว 2. พัฒนามาตรฐานการบริการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3. การส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยว 4. การบริหารจัดการท่องเที่ยว
การพัฒนาสังคมและแก้ไขปัญหาการพัฒนาสังคมและแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนของประชาชน
กลยุทธ์การพัฒนาสังคมและแก้ไขปัญหากลยุทธ์การพัฒนาสังคมและแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนของประชาชน 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 2. การลดปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 3. การส่งเสริมการดำเนินงานหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
การบริหารจัดการอย่างมีการบริหารจัดการอย่างมี คุณภาพและประสิทธิภาพ
กลยุทธ์การบริหารจัดการอย่างมีกลยุทธ์การบริหารจัดการอย่างมี คุณภาพและประสิทธิภาพ 1. พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน 2. เสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการภาครัฐ 4. เพิ่มสมรรถนะบุคลากรให้มีความสามารถในการบริหารจัดการภาครัฐ