1 / 12

การเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ภายใต้ โครงการ “ ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง ”

การเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ภายใต้ โครงการ “ ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง ”. วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามสถานการณ์และแนวโน้มของ ภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป. ตัวแปรที่เก็บข้อมูล. ด้านบุคคล - เด็กนักเรียน 1. เพศ 2 . อายุ 3 . ชั้นเรียน 4.น้ำหนัก

Download Presentation

การเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ภายใต้ โครงการ “ ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปภายใต้ โครงการ “ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง” วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามสถานการณ์และแนวโน้มของ ภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป

  2. ตัวแปรที่เก็บข้อมูล • ด้านบุคคล - เด็กนักเรียน 1. เพศ2. อายุ 3. ชั้นเรียน 4.น้ำหนัก 5.ส่วนสูง - บุคคลทั่วไป 1. เพศ 2. อายุ3.รอบเอว 4.น้ำหนัก • พื้นที่ 1. เขตเมือง 2.ชนบท • องค์กร 1. อปท. 2.องค์กรทั่วไป 3.โรงเรียน

  3. ผังการเก็บข้อมูล

  4. การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง • 1. กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ • จำนวนประชากรหลักร้อยใช้กลุ่มตัวอย่าง 15 – 30% • จำนวนประชากรหลักพันใช้กลุ่มตัวอย่าง 10 – 15% • จำนวนประชากรหลักหมื่นใช้กลุ่มตัวอย่าง 5 – 10 % • 2.ใช้สูตรคำนวณ • 2.1 กรณีไม่ทราบค่าพารามิเตอร์ ไม่ทราบจำนวนประชากร ทราบเพียงแต่ว่ามีจำนวนมาก • 2.2 กรณีที่ทราบจำนวนประชากรและมีจำนวนไม่มาก • 3.กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของ Krejcie and Morgan • ตารางแสดงจำนวนประชากรและจำนวนกลุ่มตัวอย่าง ของ Krejcie and Morgan

  5. วิธีการกำหนดขนาดตัวอย่าง 2. ใช้ตารางสำเร็จรูป 2.1 เครจซี่ และมอร์แกน 2.2 ยามาเน่ 3. ใช้สูตรคำนวณ สูตรยามาเน่ n = N 1 + Ne2

  6. การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยแบ่งประชากรที่จะศึกษาออกเป็นกลุ่มๆ (Cluster) แล้วเลือกมาเพียงบางกลุ่มโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบธรรมดาหรือแบบมีระบบก็ได้ แล้วก็เก็บข้อมูลจากบางหน่วยหรือทุกหน่วยของกลุ่มที่ถูกเลือกเป็นตัวอย่าง เมื่อได้เลือกกลุ่มแล้ว จะเลือกเอากลุ่มตัวอย่างในกลุ่มนั้นทั้งหมดซึ่งแตกต่างจากการทำ stratify sampling

  7. แผนภาพแสดงลักษณะการจัดกลุ่มที่ถูกต้องในการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มแผนภาพแสดงลักษณะการจัดกลุ่มที่ถูกต้องในการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม

  8. การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Sampling) แบ่งกลุ่มประชากรออกเป็นชั้นย่อย ๆ (Strata) เสียก่อนบนพื้นฐานของระดับของตัวแปรที่สำคัญที่ส่งผลกระทบต่อตัวแปรตาม โดยมีหลักในการจัดแบ่งชั้นภูมิให้ภายในชั้นภูมิแต่ละชั้นมีความคล้ายคลึงกัน (Homogeneous) หรือมีลักษณะที่เหมือนกันให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ แต่ระหว่างชั้นภูมิให้มีความหลากหลาย (Heterogeneous) หรือมีความแตกต่างกันให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ และหลังจากที่จัดแบ่งชั้นภูมิเรียบร้อยแล้วจึงสุ่มตัวอย่างจากแต่ละชั้นภูมิ

  9. แผนภาพแสดงลักษณะการจัดชั้นภูมิที่ถูกต้อง ในการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ

  10. ศูนย์ประสานงานโครงการ ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง ตั้งอยู่ที่ชั้น 5 กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี โทร. 02-5904362 Fax:02-5904362 ,02-5904333 E-mail: king4304@gmail.comกองโภชนาการ http://nutrition.anamai.moph.go.th หัวหน้าคณะทำงานบริหารโครงการ : นายอวัตถ์ เชาวน์ลิลิตกุล : 089-6120376 ผู้ประสานโครงการ : นายนำพล โยธินวัฒนะ 089-8127606 / IT :ชัยชนะ 080-081-0389 วิชาการ ดร.วณิชา กิจวรพัฒน์ : 089-5510113/ M&E : นงพะงา 081-562-6962 : การเงิน: เกษร084-101-9988

More Related